เว็บไซต์ อนาคามี เผยแพร่คำพระศาสดา เผยแพร่คำสอนตถาคต เว็บไซต์เผยแพร่พระสุตรคำสอนของพระพุทธเจ้า คลิปคำสอน คลิปสาธยายธรรม
  พระสูตร : สุตตะ(คำสอนพระศาสดา)
ค้นหาคำที่ต้องการ         

 
พระสูตร (ตัวเลข)
คลิก
 
1
1021 จักรวาลหนึ่ง นับจากมีดวงจันทร์โคจร มีดวงอาทิตย์โคจร และมีแสงอาทิตย์ส่องถึง โลกธาตุอย่างเล็กมีพันจักรวาล อย่างกลางมีล้าน
996 ฉันมื้อเดียว (รวมพระสูตรฉันมื้อเดียว) เธอฉันหนเดียว เว้นการฉันในราตรี งดฉันในเวลาวิกาล.. อาพาธน้อยลำบากกายน้อย มีกำลัง
1150 ฉันมื้อเดียว ภัททาลิ ฉันอาหารหนเดียวไม่ได้ ถูกภิกษุติเตียนว่าขาดความอุตสาหะ ต่อมาได้ขอขมาพระผู้มีพระภาค
1420 ธรรมอย่างหนึ่ง (1) ที่ควรเจริญคือ กายคตาสติ
S9-29 1 กัป และความยาวนานของสังสารวัฏ การเกิด การตาย การถูกฆ่าตัดคอ มีมาอย่างยาวนาน จนนับประมาณไม่ได้
726 1 กัปนานแค่ไหน สังสารวัฏหาเบื้องต้นไม่ได รวม 10 พระสูตร รวมอุปมาเรื่องกัป ความนานของสังสารวัฏ
313 1 กัป (ปัพพตสูตร)..นานแค่ไหน (อุปมาเหมือนเขาหินแท่งทึบ ทุก 100 ปีลูบด้วยผ้าแคว้นกาสี 1ครั้ง จนเขาหินราบไป 1 กัปก็ยังไม่สิ้น)
731 1 กัป นรก สังฆเภท - สังฆสามัคคี (แสดงธรรม ตรงกับคำสอนฯ/ไม่ตรงคำสอน ) ผู้ทำสังฆเภท นรก1 กัป
1122 ธรรมมีประเภทละ 1 (โดยพระสารีบุตร) ...1.สัตว์ทั้งหมดตั้งอยู่ได้เพราะอาหาร 2.สัตว์ทั้งหมดตั้งอยู่ได้เพราะสังขาร
1131 ธรรมอย่างหนึ่ง มีอุปการะมาก (พระสารีบุตรแสดงธรรมให้กับภิกษุ ๕๐๐ รูป) -ทสุตตรสูตร
B12-01 เข้าใจธรรมเพียงสัก 1 บท ก็เพียงพอ ตรัสกับ คามินิ (ปฐมธรรม)
S9-36 แม้เพียงปฐมฌาน (ฌาณ 1) ก็ชื่อว่าเป็นที่หลบพ้นภัยจากมาร
S8-256 ผู้มีราตรี หนึ่ง เจริญ ไม่ควรคำนึงถึงสิ่งที่ล่วงแล้ว ไม่ควรมุ่งหวังสิ่งที่ยังไม่มาถึง เห็นแจ้งธรรมปัจจุบัน-ทำความเพียรเสียในวันนี้
S9-19 ความเลื่อมใสอย่างยิ่งในตถาคตถึงที่สุดโดยส่วนเดียว ตถาคเต เอกนฺตคโต อภิปฺปสนฺโน
151 ใน 1 โลกธาตุอย่างเล็ก ประกอบด้วยอะไรบ้าง และจำนวนเท่าใด
Bio_101 โลกธาตุหนึ่ง มีพระพุทธเจ้าเพียงองค์เดียว
S13-13 สกทาคามี จะมาสู่โลกนี้อีก ครั้งเดียวเท่านั้น สังโยชน์ ๓ สิ้นไป และเพราะราคะโทสะ โมหะเบาบาง
1003 สุภัททะ สาวกองค์สุดท้าย ขอเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาค และ ปัญหาธรรมะเรื่องสุดท้าย ก่อนปรินิพพาน
1161 เอกบุคคลบาลี บุคคลผู้เอกเป็นไฉน คือ พระตถาคต อรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า คือผู้อัจฉริยะ ประเสริฐกว่าสัตว์ทั้งหลาย
146 ภิกษุุอยู่ผู้เดียว..มีเพื่อนสอง มิคชาลสูตร ลักษณะของการอยู่อย่างมีตัณหา(ความอยาก) เป็นเพื่อน จิตฟุ้งซ่าน
674 ภิกษุอยู่ผู้เดียว ภิกษุไม่หมกมุ่นในรูป และธรรมารมณ์) มิคชาลสูตร ภิกษุอยู่ด้วยเพื่อนสอง (หมกมุ่นในรูป...)
 
 
2
   
956 กาม 2 อย่าง วัตถุกาม (วัตถุอันเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด) รูป เสียง กลิ่น รส กิเลสกาม(ความดำริในกาม) ความพอใจ ความกำหนัด
1038

ความเพียร 2 อย่างซึ่งเกิดได้ยาก คือ 1.ความเพียรเพื่อทำให้เกิดจีวรบิณฑบาต(เข้ามาบวช) 2.ความเพียรเพื่อสละคืนอุปธิ

S9-24 ตักบาตร 2 คราว (บิณฑบาต 2 คราว) ตักบาตรที่มีผลใหญ่ มีอานิสงส์ใหญ่..เมื่อแรกตรัสรู้.. และ เมื่อปรินิพพาน
S13-34 ทิฏฐิ 2 อย่างนี้ คือ ๑.ภวทิฏฐิ (เห็นว่าภพมีอยู่ เห็นอัตตาเป็นของเที่ยงแท้) ๒.วิภวทิฏฐิ (เห็นว่าภพไม่มี เห็นว่าอัตตาไม่เที่ยง)
S9-30 ธรรม 2 อย่าง เจโตวิมุติ (สำรอกราคะได้) ปัญญาวิมุติ (สำรอกอวิชชา)
1343 ธรรม 2 อย่าง ที่เป็นคู่ตรงข้ามกัน (ปฐมปัณณาสก์ พระไตรปิฎกฉบับหลวง เล่มที่ ๒๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๒)
S9-37

ธรรม 2 อย่าง เป็นส่วนแห่ง อวิชชา ความสำคัญของ สมถะ และ วิปัสสนา สมถะ ละราคะได้ วิปัสสนา ละอวิชชาได้

1132 ธรรม 2 อย่าง มีอุปการะมาก (พระสารีบุตรแสดงธรรมให้กับภิกษุ ๕๐๐ รูป) - ทสุตตรสูตร
1122 ธรรมมีประเภทละ 2 (โดยพระสารีบุตร).. นาม - รูป/อวิชชา - ภวตัณหา/ ภวทิฐิ - วิภวทิฐิ/ความไม่ละอาย - ความไม่เกรงกลัว
599 นิพพานธาตุ 2 ประการ ธาตุสูตร สอุปาทิเสส กับ อนุปาทิเสส ความแตกต่างของอรหันต์ 2 ประเภท
1394 บุคคล 2 จำพวก เมื่อเกิดขึ้น ย่อมเกื้อกูลเพื่อความสุข คือพระพุทธเจ้า+พระจักรพรรดิ และเป็นอัจฉริยะคือ พระพุทธเจ้า+พระปัจเจก
1004 บุคคล 2 จำพวก เมื่อเกิดขึ้นในโลกย่อมเกิดขึ้นเพื่อประโยชน์เกื้อกูลของชนมาก... และ 2 จำพวกนี้ ฟ้าผ่าย่อมไม่สะดุ้ง
146 เพื่อน 2 นันทิ (สาราคะ สัญโญคะ) ลักษณะของการอยู่อย่างมีตัณหา(ความอยาก) เป็นเพื่อน จิตฟุ้งซ่าน หรือมีจิตผูกติดกับอารมณ์
674 เพื่อน 2 ภิกษุหมกมุ่นในรูป และธรรมารมณ์) มิคชาลสูตร เรียกว่าภิกษุอยู่ด้วยเพื่อนสอง (หมกมุ่นในรูป...)
146 เพื่อน2 ภิกษุอยู่แบบมีเพื่อนสอง มิคชาลสูตร ลักษณะของการอยู่อย่างมีตัณหา(ความอยาก) เป็นเพื่อน จิตฟุ้งซ่าน
1308 วิตก 2 ส่วน ว่าด้วยความวิตก ๒ ส่วน อกุศลวิตก และ กุศลวิตก (ความตริตรึก ความคิด)
(2) ส ห อ
1105 สมาธิตามความประณีตของธาตุ มี 2 ประเภท 1.สัมมาสมาธิอันเป็นอริยะ 2 สมาธิ 9 ระดับ และสัญญาเวทยิต(ช่วงลำแสง)
1316

ส่วนสองเป็นไฉน จักษุ-รูป/โสตะ-เสียง/ฆานะ- กลิ่น/ชิวหา- รส..วิญญาณเกิดขึ้นเพราะอาศัยส่วนสอง จักษุวิญญาณอาศัย จักษุ-รูป

1557 สังฆสามัคคีมี 2 อย่าง คือ 1.สังฆสามัคคีเสียอรรถแต่ได้พยัญชนะ 2.ได้ทั้งอรรถได้ทั้งพยัญชนะ.. (ภิกษุเมืองโกสัมพีทะเลาะกัน)
S9-18 สัตว์ มี 2 นัยยะ (ฉันทะ ราคะ นันทิ ตัณหา ในอายนะภายใน ๖)
S9-17 สัมมาทิฐิ 2 แบบ สาสวะ เป็นส่วนแห่งบุญ ให้ผลแก่ขันธ์ กับ อนาสวะ เป็นโลกุตระ เป็นองค์มรรค
S9-22 เหตุ 2 ประการ ที่ทำให้ตถาคต มีผิวพรรณผุดผ่องดั่งทอง คือ ในกาลแห่งการตรัสรู้ และในกาลแห่งปรินิพพาน
S7-185 อุเบกขา 2 อุเบกขาที่ควรเสพก็มี และ อุเบกขาที่ไม่ควรเสพก็มี
 
 
3
S5- 91 3 สิ่งเปิดเผยไม่เจริญ 3 สิ่งปิดบังไม่รุ่งเรือง (ปิด..สตรี-มนต์พราหมณ์- มิจฉาทิฎฐิ .. เปิด ดวงจันทร์-ดวงอาทิตย์-ธรรมวินัย)
S1-36 3 สิ่งที่ยากเสมอกัน (การเกิดขึ้นของตถาคต การเกิดเป็นมนุษย์ ศาสนาแผ่ไพศาล..)
S9-48 กรรม 3 กาล วิบากกรรม 3 อย่าง วิบากในทิฏฐธรรม(ทันควัน) อุปะปัชชะ (ในเวลาต่อมา) อปรปริยายะ (ในเวลาต่อมาอีก)
227 กาม 3 กามสูตร (กามเลว กามปานกลาง กามปราณีต)
S6-133 ขันธ์ 3 เรื่องมรรค ๘ กับขันธ์ ๓ ปัญญาขันธ์ ศีลขันธ์ สมาธิขันธ์ (ตรัสกับนางวิสาขา) ขันธ์ ๓ (กองศีล กองสมาธิ กองปัญญา)
S1-34 คนฟังธรรมมี 3 พวก (1.จำไม่ได้เลย.. 2.จำได้แต่พอลุกเหมือนถั่วงาร่วง.. 3.จำได้ทั้งหมด)
1108 ความโกรธ 3 แบบ เรื่องชนะความโกรธ บุคคลไม่โกรธตอบ บุคคลผู้โกรธแล้ว ชื่อว่าย่อมชนะสงคราม อันบุคคลชนะได้โดยยาก
110

ความโกรธกับบุคคล 3 จำพวก (อุปมารอยขีดบนแผ่นหิน- แผ่นดิน- แผ่นน้ำ)

1256 ความสะอาด 3 อย่าง เป็นไฉน คือ กายโสเจยยความ สะอาดกาย วจีโสเจยยความสะอาดวาจา มโนโสเจยยความสะอาดใจ
1006

จักรพรรดิ์ มี 3 พระสูตร 1.พระจักรพรรดิ์ ทัลหเนมิ 2.มหาสุทัสสนะ เมืองกุสาวดี (พระพุทธเจ้า) 3.พระเจ้ามฆเทวะ เมืองมิถิลา

405 ชฎิล 3 พี่น้อง : ทรงปราบพญานาค และแสดงปาฏิหาริย์จนชฎิลกับสาวกอีก 1000 คนยอมรับและคนขอบวช
672 ญาณ 3 (12 อาการ) กำหนดด้วยความสมบูรณ์แห่ง สัจจญาณ กิจจญาณ กตญาณ.. รอบ ปริวัฏฏ์ สาม 
343 ญาณ 3 (วิชชา 3) ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ(รู้ชาตในอดีต) จุตูปปาตญาณ(รู้ภพใหม่ด้วยทิพย์จักษุ) อาสวักขยญาณ(รู้ว่าหลุดพ้น)
1044 ตาราง เปรียบเทียบ วิชชา 3.. ญาณ 3... ปฏิหาริย์ 3.. อภิญญา 6 วิชชา 8
1103 ทดสอบความเป็นอรหันต์ อรหันต์ 3 รูป เหตุแห่งความสามัคคี (จูฬโคสิงคสาลสูต) พระอนุรุทธ พระนันทิยะ พระกิมิละ
S8-250 ทรงแสดงธรรม เพราะเห็นความจำเป็นของสัตว์บางพวก (1ใน 3 พวกนี้)
717 ทิฏฐิ 3 ติตถสูตร อย่างในเรื่องกรรมของเดียรถีย์ ...ธรรมที่เราแสดง ไม่ถูกติ คือผัสสายตนะ๖ มโนปวิจาร๑๘ อริยสัจ๔ ธาต ๖
S4-61 ทุกข์ 3 แบบ 1.ไม่สบายกายร้อนไปหนาวไป 2.เกิดจากสังขาร ทุกข์ใจ 3.เกิดจากการแปรปรวนเช่นแก่)
S12-41 ทุจริต 3 สุจริต3 ละทุจริต3 เจริญสุจริต3 ดำรงอยู่ในศีล แล้วเจริญสติปัฏฐาน ๔ (ทุจริตสูตร)
1069 ธรรม 3 ประการ พระอนุรุทธะถามพระสารีบุตร เรื่องการสิ้นอาสวะ..ส.แนะให้ละธรรม 3 ประการ 1.มานะ 2.อุทธัจจะ 3.กุกกุจจะ
1096 ธรรม 3 ประการ ย่อมมากด้วยความสุขโสมนัสอยู่ในปัจจุบัน และย่อมปรารภอุบาย เพื่อความสิ้น อาสวะทั้งหลาย
1133 ธรรม 3 อย่าง มีอุปการะมาก (พระสารีบุตรแสดงธรรมให้กับภิกษุ ๕๐๐ รูป) - ทสุตตรสูตร
1280 ธรรม 3 ประการ ยิงศรไปไกล ยิงไม่พลาด ยิงเป้าใหญ่ (โยธสูตร นักรบอาชีพ)
S3-06 ธรรมชาติ 3 อย่าง ทำให้พระองค์เกิดขึ้นเป็นประทีปของโลก คือ ชาติด้วย ชราด้วย มรณะ
554 ธรรมมีประเภทละ 3 อกุศลมูล๓ กุศลมูล3 ทุจริต3 สุจริต3 อกุศลวิตก2 อกุศลสังกัปปะ3 กุศลสังกัปปะ3 อกุศลสัญญา3....
1123

ธรรมมีประเภทละ 3 (โดยสารีบุตร) อกุศลมูล-กุศลมูล๓อย่าง,ทุจริต-สุจริต,อกุศลวิตก-กุศล, อกุศลสังกัปปะ-กุศล,ธาตุอีก,ตัณหา๓

954 ธาตุ 3 อย่าง เป็นที่ตั้งแห่ง ปฏิจจ.. กามธาตเป็นเหตุให้เกิดกามภพ.. รูปธาตุเป็นเหตุให้เกิดรูปภพ.. อรูปธาตุเป็นเหตุให้เกิดอรูปภพ
(3)
S4-66 บัว 3 เหล่า ทรงเห็นสัตว์ดุจดอกบัว 3 เหล่า (จมอยู่ในน้ำอันน้ำพยุงไว้ ตั้งเสมอพื้นน้ำ โผล่ขึ้นพ้นน้ำ)
1035

บุคคล 3 จำพวก 10 นัยยะ  
1) บุคคล 3 จำพวก สวิฏฐสูตร- กายสักขี (สัมผัสวิมุต) ทิฏฐิปัตต(ผู้บรรลุสัมมาทิฐิ) สัทธาวิมุตต (หลุดพ้นด้วยสัทธา)
2) คนไข้ 3 จำพวก (คิลานสูตร) ได้โภชนะที่สบายหรือไม่ได้..ได้เภสัชที่สบายหรือไม่ได้.. ได้อุปัฏฐากที่สมควรหรือไม่ได้..
3) บุคคลปรุงแต่งสังขาร 3 จำพวก (สังขารสูตร) ปรุงแต่งกายสังขาร วจีสังขาร จิตสังขาร ที่มีความเบียดเบียน-ไม่เบียดเบียน
4) บุคคล 3 จำพวก (พหุการสูตร) ถึงพระพุทธเจ้าว่าเป็นสรณะ.. รู้ชัดอริยสัจสี่ ..ทำให้แจ้งเจโต-ปัญญาวิมุตติ
5) บุคคล 3 จำพวก (วชิรสูตร) บุคคลมีจิตเหมือนแผลเก่า เหมือนฟ้าแลบ เหมือนเพชร
6) บุคคล 3 จำพวก (เสวิสูตร) บุคคลที่ไม่ควรเสพไม่คบไม่นั่งใกล้ ..ควรเสพควรคบควรนั่งใกล้ ..บุคคลที่ต้องสักการะแล้วจึงเสพ
7) บุคคล 3 จำพวก (ชิคุจฉสูตร) บุคคลที่น่าเกลียดไม่ควรคบ บุคคลที่ควรวางเฉย บุคคลที่ควร เสพ ควรคบควรนั่งใกล้
8) บุคคล 3 จำพวก (คูถภาณีสูตร) บุคคลถ้อยคำเหม็นเหมือนคูถ หอมเหมือนดอกไม้ หวานปานน้ำผึ้ง
9) บุคคล 3 จำพวก (อันธสูตร) คนตาบอด(ไม่รู้ธรรม) ตาเดียว(รู้บ้างไม่รู้บ้าง) มีสองตา (รู้ธรรมดำ ธรรมขาว)
10)บุคคล 3 จำพวก (อวกุชชิตาสูตร) ปัญญาคว่ำ มีปัญญาเช่นตัก มีปัญญากว้างขวาง

1141 บุคคล 3 จำพวก สังโยชน์ในภายใน-นอก อาคามี/อนาคามี แสดงธรรมโดยพระสารีบุตร แต่มีเทวดาพรหมเข้าฟังจำนวนมาก
1278 บุคคล 3 จำพวก มีในโลก บรรลุอากาสานัญจายตน บรรลุวิญญาณัญจายตน บรรลุอากิญจัญญายตน (อเนญชสูตร)
S1-16 บุคคล 3 จำพวกนี้ มีปรากฏอยู่ในโลก บุคคลผู้เปรียบด้วย รอยขีดที่แผ่นหิน รอยขีดที่แผ่นดิน รอยขีดที่น้ำ
1679 บุคคล 3 จำพวกนี้ จะต้องไปอบายนรก.. ปฏิญาณว่าเป็นพรหมจารี ตามกำจัดผู้มีพรหมจรรย์บริสุทธิ์ มีทิฐิอย่างว่าโทษในกามไม่มี
1588 บุคคล 3 จำพวก (โสดาบัน-สกิ) กับ ม้ากระจอก 3 จำพวก (บุคคลรู้ชัดนี้ทุกข์ เหตุเกิด เหตุดับ และข้อปฏิบัติ)
1589 บุคคล 3 จำพวก (อนาคามี) กับ ม้าดี 3 จำพวก (บุคคลเป็นผู้สิ้นสังโยชน์ ๕ จะปรินิพพานในภพนั้น)
1590 บุคคล 3 จำพวก (อรหันต์) กับ ม้าอาชาไนย 3 จำพวก (บุคคลทำให้แจ้งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ ผู้สิ้นอาสวะ)
295 บุญกิริยาวัตถุ 3 ประการ ปุญญกิริยาวัตถุสูตร - (สำเร็จด้วยทาน ด้วยศีล ด้วยภาวนา)
360 บุญกิริยาวัตถุ 3 ประการ สัดส่วนของ ทาน ศีล ภาวนา
329 บุญกิริยาวัตถุ 3 (ทาน ศีล ภาวนา ทำมากหรือทำน้อย ย่อมได้อานิสง ที่จะไปเกิดเป็นมนุษย์ชั่ว มนุษย์ดี และเทวดาแตกต่างกัน)
(3)
1559 ปฏิปทา 3 อย่าง #1 ปฏิบัติหยาบช้า (คิดว่ากามไม่มีโทษ) ปฏิบัติแบบทรมานตน(อเจลกเลียมือ) ข้อปฏิบัติอย่างกลาง (สติปัฏฐาน๔)
1559 ปฏิปทา 3 อย่าง #2 ปฏิบัติหยาบช้า (คิดว่ากามไม่มีโทษ) ทำความเพียรโดยทรมานตนเอง ปฏิบัติอย่างกลาง (โพธิปักขิยธรรม ๓๗ )
1559 ปฏิปทา 3 อย่าง #3 ผู้ประกอบด้วยธรรม ๓ ประการต้อง ตกนรก ๑) ฆ่าสัตว์ด้วยตนเอง ๒) ชักชวน ๓)พอใจ ..ขึ้นสวรรค์ เว้นขาด...
1559 ปฏิปทา 3 อย่าง #4 เพื่อรู้เพื่อละราคะ ควรเจริญธรรม ๓ ประการ ๑) สุญญตสมาธิ ๒) อนิมิตตสมาธิ ๓) อัปปณิหิตสมาธิ
293 ปาฏิหาริย์ 3 ประการ ๑.อิทธิปฏิหาริย์ ๒.อาเทสนาปาฏิหาร ๓.อนุสาสนีปาฏิหาริย์
(3) พ ฟ ภ
991 พระเทวทัตลอบปลงพระชนม์ 3 ครั้ง ส่งคนปลงพระชนม์ด้วยธนู พระเทวทัตทุ่มหินลงมาจากเขา ปล่อยช้างนาฬาคิรี
1311

พาหิยะสูตร ในพระไตรปิฎก มี 3 พระสูตร 1.เป็นกุลบุตรพาหิยทารุจีริยะ(แม่โคขวิดจนเสียชีวิต) อีก 2 พระสูตร เป็นพระพาหิยะ

1731 ไฟ 3 ประการที่ควรละควรเว้น ... ไฟ 3 ประการที่ควรสักการะ...ไฟที่ควรจุดตามกาล
S9-44 ภพ 3 ภพทั้งหลาย 3 อย่าง เหล่านี้คือ กามภพ รูปภพ อรูปภพ
1061 ภิกษุ ควรไหว้บุคคล 3 จำพวก และ ไม่ควรไหว้บุคคล ๑๐ จำพวก
(3) ม ล ว ศ
273 มนุษย์ 3 ทวีป ฐานสูตร (มนุษย์ชาวชมภูทวีป ชาวอุตรกุรุ และเทวดามีความประเสริฐต่างกัน)
S2-75 มนุษย์มีดีกว่าเทวดา 3 เรื่อง สติ กล้าหาญ ประพฤติพรหมอันเยี่ยมยอด
1588 ม้ากระจอก 3 จำพวก (อุปมาเปรียบเทียบกับ โสดาบัน-สกทาคามี ผู้รู้แจ้งในอริยสัจสี่ 3 จำพวก)
1589 ม้าดี 3 จำพวก (อุปมาเปรียบเทียบกับ อนาคา ผู้สิ้นสังโยชน์ 5 3 จำพวก
1590 ม้าอาชาไนย 3 จำพวก (อุปมาเปรียบเทียบกับ พระอรหันต์ ผู้สิ้นอาสวะ 3 จำพวก)
274 ม้ากระจอก 3 ประเภท คนกระจอก 3 ประเภท ม้าดี 3 ประเภท คนดี 3 ประเภท ม้าอาชาไนย 3 ประเภท บุรุษอาชาไนย 3 ประเภท
S10-33 ธรรม 3 ประการ ของมาตุคาม ผู้มีใจมลทิน ตระหนี่ จิตริษยา กามราคะ เมื่อกายแตกย่อมเข้าถึง อบาย-นรก
1504 ธรรม 3 ประการ ของมาตุคาม ย่อมทำให้เข้าถึงนรก คือความตระหนี่ ริษยา กามราคะ (อนุรุทธสูตรที่ ๑)
489 เลื่อมใสในสิ่งที่เป็นเลิศ 3 ประการจุนทิสูตร- วิราคะธรรม 1.พระพุทธเจ้า 2.วิราคธรรม 3.ในสงฆ์ วิบากอันเลิศย่อมมีแก่ผู้นั้น
178 โลกธาตุมี 3 ขนาด เล็ก-กลาง-ใหญ่ แต่ละขนาดใหญ่กว่ากัน 1,000 เท่า (สหัสสีจูฬนิกา ทวิสหัสสีมัชฌิมิกา ติสหัสสีมหาสหัสสี)
343 วิชชา 3 (ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ จุตูปปาตญาณ อาสวักขยญาณ)
S9-48 วิบากแห่งกรรม 3 อย่าง วิบากใน ทิฏฐธรรม (ทันควัน) อุปะปัชชะ (ในเวลาต่อมา) อปรปริยายะ (ในเวลาต่อมาอีก)
1278 วิบัติ 3 อย่าง ศีลวิบัติ (เช่นลักทรัพย์) จิตตวิบัติ (โลภ พยาบาท) ทิฐิวิบัติ (มิจฉาทิฐิ).. สัมปทา ๓ อย่าง (ตรงกันข้าม)
909 วิเวก 3 อย่าง กายวิเวก จิตตวิเวก อุปธิวิเวก
1543 เวทนา 3 คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา เวทนาใดๆเป็นทุกข์ มีความพินาศ มีความทำลายเป็นธรรมดา มีความสิ้นไปอยู่
1259

ศาสดา 3 จำพวก มีปรากฏอยู่ในโลก 1.บัญญัติการกำหนดรู้กาม 2.ไม่บัญญัติการกำหนดรู้รูป 3.ไม่บัญญัติการกำหนดรู้เวทนา

194 ศาสดาที่ควรแก่การท้วง 3 จำพวก และ ศาสดาที่ไม่ควรท้วง (ตรัสกับ พราหมณ์โลหิจจะ)
(3)
S5-87 สมณกิจที่ต้องทำมี 3 อย่าง (สมณะต้องทำมีสามอย่าง ปฏิบัติในศีล ในจิต ในปัญญา)
1573 สิกขา 3  อธิศีลสิกขา  อธิจิตตสิกขา อธิปัญญาสิกขา
S6-132 สังขาร 3 กายสังขาร วจีสังขาร จิตสังขาร ลมหายใจเป็นกายสังขาร วิตกและวิจารเป็นวจีสังขาร สัญญา-เวทนา เป็นจิตตสังขาร.
1256 สัมปทา 3 อย่าง เป็นไฉน คือ กัมมันตสัมปทา อาชีวสัมปทา ทิฏฐิสัมปทา
1256 สัมปทา 3 อย่าง เป็นไฉน คือ ศีลสัมปทา จิตตสัมปทา ทิฏฐิสัมปทา
S3-24 เสาเขื่อน 3 ที่ต้องละ ขีลสูตร (ราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑ .. แก้ได้โดยเจริญมรรค8)
(3)
S11-7 อกุศลมูล 3 โลภะ โทสะ โมหะ อันควรละ รากเหง้าของความชั่วทั้งปวง จะแสดงออกมาเป็นเป็นทุจริตทางกาย วาจา ใจ(ทุจริต3)
S13-33 อกุศลวิตก 3 อย่าง คือ กามวิตก พยาบาทวิตก วิหิงสาวิตก แก้ได้ด้วยสติปัฏฐาน ๔
611 อนุสัย 3 คู่กับเวทนา 3 อนุสัย 3 คือ ราคานุสัย (เกิดจากสุข) ปฏิฆานุสัย (เกิดจากทุกข์) อวิชชานุสัย (เกิดจาก อทุกขมสุข)
612 อนุสัย 3 ไม่เกิดแก่อริยสาวก แม้เมื่อเสวยทุกขเวทนา เพราะการไม่ติดพัน ... การดับเย็น
S10-39 อนุสัย 3 ราคานุสัย ปฏิฆานุสัย อวิชชานุสัย
1103 อรหันต์ 3 รูป เหตุแห่งความสามัคคี (จูฬโคสิงคสาลสูต) พระอนุรุทธ พระนันทิยะ พระกิมิละ
S11-8 อัคคิสูตร ไฟ 3 กอง 1.ไฟราคะ(ดับได้โดยเห็นความไม่งาม) 2.ไฟโทสะ (ดับได้ด้วยเจริญเมตตา) 3.ไฟโมหะ (ดับได้ด้วยปัญญา)
S10-12 อาหารแรกเริ่มของสัตว์มี 3 ชนิด ง้วนดิน กระบิดิน เครือดิน ... ความแตกต่าง
1659 อาสวะ 3 กามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ (อาสวสูตร) และธรรมเพื่อการละอาสวะ
1563 อินทรีย์ 3 อินทรีย์ 4 อินทรีย์ 5 อินทรีย์ 6 .. อินทรีย์หมายถึง ความเป็นใหญ่/ร่างกายและจิตใจ/สติปัญญา/สิ่งมีชีวิต
S9-021

อีก 3 เดือนแต่นี้ตถาคตจักปรินิพพาน...บัดนี้เรา ขอเตือนพวกเธอ สังขารทั้งหลาย มีความเสื่อมเป็นธรรมดา

1352 อุโบสถ มี 3 แบบ โคปาลกอุโบสถ นิคัณฐอุโบสถ อริยอุโบสถ (อุโปสถสูตร)
984 อุโบสถมี 3 อย่าง ๑.โคปาลกอุโบสถ-แบบคนเลี้ยงโค ๒.นิคัณฐอุโบสถ-แบบลัทธิอื่น ๓.อริยอุโบสถ-แบบของตถาคต
587 อุโบสถ-วิธีทำอุโบสถ 3 อย่าง- สวดปาติโมกข์ ในวันอุโบสถ- ภิกษุ ๔ รูป สวดปาติโมกข์ ..๓ รูป ทำปาริสุทธิอุโบสถ
643 อุปมา 3 ข้อ ตรัสกับภาระทวาชะ เรื่องการหลีกออกจากกาม เหมือนไม้สดแช่อยู่ในน้ำ- ไม้สดตั้งบนบก-ไม้แห้งเกรอะตั้งบนบก
 
4
346 กรรม 4 ประการ กรรมดำ กรรมขาว กรรมดำมีวิบากดำ.. กรรมขาวมีวิบากขาว.. กรรมทั้งดำทั้งขาวมีวิบากทั้งดำทั้งขาว...
S2-51 มิจฉาทิฏฐิเรื่องกรรม 4 แบบ (กรรม-สุขทุกข์ ไม่ได้เกิดจากผู้อื่นบันดาล)
101 กรรมดำ-กรรมขาว กรรม 4 อย่าง อย่างไรเล่า ? (กรรมดำมีวิบากดำ.. กรรมขาวมีวิบากขาว..) เหตุปัจจัย และผลของกรรม
1713 กรรม 4 อย่าง กรรมเก่า กรรมใหม่ ความดับแห่งกรรม ปฏิปทาให้ความดับแห่งกรรม (กรรมสูตร)
S10-34 การก้าวลงสู่ครรภ์ 4 อย่าง.. รู้สึกตัว-ไม่รู้สึกตัวในการก้าวลงสู่ครรภ์มารดา.. รู้ตัว-ไม่รู้ตัวเมื่ออยู่ในครรภ์.. รู้ตัว-ไม่รู้ตัวเมื่อคลอด
S1-28 การทำงานของจิต อาศัย 4 ธาตุ (วิญญาณอาศํย รูปตั้งอยู่ อาศัยเวทนา สัญญา สังขาร... 4 ธาตุนี้เรียกว่าอารมณ์)
S8-269 การนอน 4 แบบ ๑.เปตไสยา(นอนหงาย-คนตาย) ๒.กามโภคีไสยา(ตะแคงซ้าย)๓.สีหไสยา(ราชสีห์) ๔.ตถาคตไสยา(ตะแคงขวา)
S11-18 การพยากรณ์อรหัตผลด้วยมรรค 4 ประการ..เจริญวิปัสสนา มีสมถะเป็นเบื้องหน้า ..ใจของภิกษุปราศจากอุทธัจจะ(ลังเลสงสัย)
1068

กาลิก 4 .. ของฉัน ๔ อย่าง ๑.ยามกาลิก-น้ำปานะ ๒.ยาวกาลิก-อาหาร ๓. สัตตาหกาลิก-น้ำผึ้ง น้ำอ้อย ๔. ยาวชีวิก-ยารักษาโรค

S8-241 กำเนิด 4 (ลักษณะของการเกิด) การเกิดของสัตว์ในคติ 5 เกิดในไข่ เกิดในครรภ์ เกิดในเถ้าไคล เกิดผุดขึ้น(โอปปาติกะ)
(4) ข ค จ ฌ ฐ
1244 ของอัศจรรย์ 4 อย่างที่ไม่เคยมี จากการบังเกิดของตถาคต 1.ประชาชนพอใจในกามคุณ ครั้นตถาคตแสดง ก็ฟัง เงี่ยหูฟัง
393 ครุฑ 4 จำพวก กำเนิดครุฑ 4 จำพวก (เกิดในไข่..เกิดในครรภ์..เกิดในเถ้าไคล..เกิดผุดขึ้น)
S3-25 ความรัก 4 แบบ (รักเกิดจากรัก - เกลียดเกิดจากรัก - รักเกิดจากเกลียด -เกลียดเกิดจากเกลียด)
207 ความรัก 4 แบบ (รักเกิดจากรัก ,เกลียดเกิดจากรัก , รักเกิดจากเกลียด, เกลียดเกิดจากเกลียด)
1745 ความอัศจรรย์ 4 ประการ (อัจฉริยสูตร) ของพระตถาคต ของพระอานนท์ และพระมหาจักรพรรดิ
S9-012 คู่แห่งบุรุษ 4 คู่ นับเรียงตัวได้ 8 บุรุษ คู่ที่ ๑ โสดาปัตติผล +โสดาปัตติมรรค คู่ที่ ๒ สกทาคามิผล + สกทาคามิมรรค ...
460 จักรพรรดิ์สุทัสสนสูตร มีมหาสมุทรทั้ง 4 เป็นขอบเขต กษัตริย์ผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน มีอาณาจักรมั่นคง.
646 ฌาน 4 และ ญาณ 3 ทรงบรรลุแล้วในปัจฉิมยามแห่งราตรี อวิชชาได้กำจัดแล้ว วิชชาเกิดขึ้นแล้ว สคารวมาณพขอบวช
138 ฐานะ 4 ประการนี้ (การดูใจ ศีล-รู้ได้ด้วยการอยู่ร่วมกัน ความสะอาด-รู้ได้ด้วยถ้อยคำ กำลังใจ-รู้ได้ในอันตราย ปัญญา- พึงรู้ได้..)
(4) ท ธ น
B12 -01 ทรัพย์- หลักในการใช้จ่ายทรัพย์ 4 ประการ หนังสือปฐมธรรม
S10-13

ทางแห่งความหมดจด 4 ทาง..1.องค์แปด 2.อริยสัจสี่ 3.วิราคธรรม 3.ผู้มีพุทธจักษุ เห็นว่าสังขาร ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา

S3-27 ธรรม 4 ประการ ที่ควรู้, ควรละ, ทำให้เจริญ, ทำให้แจ้ง (รู้-ขันธ์5 ละ-อวิชชา จริญ-สมถะวิปัสนา แจ้ง-วิชชาและวิมุติ)
298 ธรรม 4 ประการ ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ ควรทำให้แจ้ง ควรทำให้เจริญ
1428 ธรรม 4 ประการ เป็นไปเพื่อประโยชน์เพื่อความสุขแก่กุลบุตร 1.สัทธาสัมปทา 2.สีลสัมปทา 3.จาคสัมปทา 4.ปัญญาสัมปทา
1428 ธรรม 4 ประการ เพื่อประโยชน์สุขในปัจจุบัน 1.ขยัน 2.ได้ทรัพย์โดยชอบธรรม 3.เป็นกัลยาณมิตรที่ดี 4.ใช้ทรัพย์อย่างพอเหมาะ
1134 ธรรม 4 อย่าง มีอุปการะมาก (พระสารีบุตรแสดงธรรมให้กับภิกษุ ๕๐๐ รูป) - ทสุตตรสูตร
S10-25 ธรรมชาติ 4 อย่างนี้มีอยู่ ...เพราะมีธรรมชาติ ๔ อย่างนี้มีอยู่ การสลัดออกซึ่งธรรมชาติเหล่านี้ จึงปรากฎ
998 ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ 4 ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ : ๑.มีปัญญา ๒.มีสัจจะ ๓.มีจาคะ ๔.มีอุปสมะ (ความสงบ ความระงับ)
1124 ธรรมมีประเภทละ 4 (โดยสารีบุตร) ธาตุ ๔ อย่าง.. อาหาร๔ ..วิญญาณฐิติ ๔ ..ธรรมขันธ์ ๔.. กรรม ๔ ..การก้าวลงสู่ครรภ์ ๔ อย่าง
1142 ธรรมสมาทาน 4 อย่าง คือ 1.แบบสุขปัจจุบัน..มีทุกข์เป็นวิบาก 2.ทุกข์ปัจจุบัน.. ทุกข์เป็นวิบาก 3. ทุกข์ปัจจุบัน.. สุขเป็นวิบาก
538 ธาตุ 4 รายละเอียดของธาตุสี่  1.ปฐวีธาตุ -ธาตุดิน 2.อาโปธาตุุ-ธาตุน้ำ 3.เตโชธาตุ-ธาตุไฟ 4.วาโยธาตุ-ธาตุลม
392 นาค 4 จำพวกเป็นสัตว์เดรัจฉานมี ๑.เกิดในไข ๒.เกิดในครรภ์ ๓.เกิดในเถ้าไคล ๔.เป็นโอปปาติกะ (เกิดผุดขึ้น)
(4)
914 บุคคล 4 จำพวก (๑) ทำตนให้เดือดร้อน ขวนขวายทำตนให้เดือดร้อน (๒) ทำผู้อื่นให้เดือดร้อน ขวนขวายทำผู้อื่นให้เดือดร้อน...
1082 บุคคล 4 จำพวก (ปุคคลวรรคที่ ๔) จำนวน ๘ พระสูตร (๘ นัยยะ)
813 บุคคล 4 จำพวก (สัมมาวาจา) 1.ติแต่ไม่สรรเสริญ 2.สรรเสริญและไม่ติ 3.ไม่ติไม่สรรเสริญ 4. ติและสรรเสริญ (พ.เจ้าสรรเสริญ)
500 บุคคล 4 จำพวก 1.อสัตบุรุษ ....สัตบุรุษ.. คนดี..คนลามก..คนมีธรรมอันลามก..คนมีธรรมงาม..ฝนตกฟ้าร้อง..ฝนตกฟ้าไม่ร้อง..
504 บุคคล 4 จำพวก จตุกกนิทเทส เช่น.อสัตบุรุษ สัตบุรุษ/ คนดี/คนลามก/คนมีธรรมอันลามก/คนมีธรรมงาม /ฝนตกฟ้าร้อง/ ...
1002 บุคคล 4 จำพวก ถูปารหบุคคล ผู้สมควรสร้างสถูป เพื่อผู้เห็นจะยังจิตให้เลื่อมใส ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์
1319 บุคคล 4 จำพวก ประเภท(1) 1.ละสังโยชน์เบื่องต่ำได้-ไม่ได้ 2.ฉลาดผูกไม่ฉลาดแก้ 3.สมบูรณ์-ไม่สมบูรณ์ในศีล4.จิตออกกายไม่ออก
1319 บุคคล 4 จำพวก ประเภท(10) 1.นักพูดย่อมจำนน 2.โดยอรรถโดยพยัญชนะ 4.ไม่จำนวนโดยอรรถ 5.โดยพยัญชนะ
1319 บุคคล 4 จำพวก ประเภท(2) 1.ผู้ฉลาดผูกไม่ฉลาดแก้ 2.ฉลาดแก้ ไม่ฉลาดผูก 3.ฉลาดทั้งผูก-ทั้งแก้  4.ไม่ฉลาดทั้งผูก-ทั้งแก้
1319 บุคคล 4 จำพวก ประเภท(3) 1.รู้ธรรมแต่หัวข้อ 2.รู้ธรรมเมื่ออธิบาย 3.พอแนะนำได้ 4.ผู้มีบทเป็นอย่างยิ่ง
1319 บุคคล 4 จำพวก ประเภท(4) 1.ดำรงชีพด้วยความหมั่น 2.ด้วยผลของกรรม 3.ด้วยผลความหมั่นก็ไม่ใช่ 4.ด้วยผลของกรรมก็ไม่ใช่
1319 บุคคล 4 จำพวก ประเภท(5) 1.บุคคลผู้มีโทษ 2.บุคคลผู้มากด้วยโทษ  3.บุคคลผู้มีโทษน้อย  4.บุคคลผู้หาโทษมิได้
1319 บุคคล 4 จำพวก ประเภท(6) 1.ไม่บริบูรณ์ศีลสมาธิปัญญา 2.บ.ศีลไม่สมาธิไม่ปัญญา 3.บ.ศีลสมาธิ-ไม่ปัญญา 4.บ.ศีลสมาธิปัญญา
1319 บุคคล 4 จำพวก ประเภท(7) 1.ไม่หนักในศีล-ไม่มีศีลเป็นใหญ่ 2.ไม่หนักสมาธิ-ปัญญา 3.หนักในศีล-สมาธิ 4.หนักปัญญา-ปัญญาใหญ่
1319 บุคคล 4 จำพวก ประเภท(8) 1.จิตไม่ออก-กายไม่ออก 2.จิตออก-กายไม่ออก 3.จิตยังไม่ออก-กายออก 4.กายออก-จิตออก
1319 บุคคล 4 จำพวก ประเภท(9) 1.กล่าวธรรมน้อยได้ประโยชน์ 2.ไม่ได้ประโยชน์ 3.กล่าวมากได้ประโยชน์ 4.ไม่ได้ประโยชน์
S9-49 บุคคล 4 จำพวก เรียงตัวได้ 8 บุรุษ 1.โสดาบัน.2 ผู้ปฏิบัติเพื่อเป็นโส 3.สกทาคามี 4.ผู้ปฎิบัติเพื่อเป็นสกทา 5. อนาคามี 6...
1117 บุคคล 4 จำพวก (สังโยชน์สูตร) อริยะบุคคล ตั้งแต่สกทาคามีขึ้นไป ที่ยังละสังโยชน5 ได้-ไม่ได้, สร้างการเกิดและภพได้-ไม่ได้
551 บุคลล 4 ประเภท ลักษณะของบุคคลสี่ประเภท :กายออกจิตไม่ออก กายไม่ออกจิตออก กายไม่ออกจิตไม่ออก กายออกจิตออก
1226 บุคคล 4 จำพวก สสังขารปรินิพพายี อสังขารปรินิพพายี นิพพานปัจจุบัน-หลังกายแตก
S7-219

บุคคล 4 จำพวก อสังขาร-สสังขารปรินิพพายี ๑.สสังขารก่อนตาย ๒.สสังขารหลังตาย ๒.อสังขารก่อนตาย ๔.อสังขารหลังตาย

S3-28

บุคคลเปรียบด้วยมะม่วง 4 จำพวก (อัมพสูตร) (มะม่วงดิบผิวสุก-มะม่วงสุกผิวดิบ-มะม่วงดิ ผิวดิบ-มะม่วงสุกผิวสุก)

(4)
1227-31 ปฏิปทา 4 ประการ (นัยยะ๑-๒-๓-๔) ราคะกล้า.. เห็นกายว่าไม่งาม..เขาด่าย่อมด่าตอบ..ไม่อดทน..ทุกขาปฏิปทา/สุขาปฏิปทา
279 ปฏิปทา 4 ประการ ทุกขาปฏิปทาฯปฏิบัติลำบากรู้ช้า-ทุกขาปฏิปทารู้เร็ว-สุขาปฏิปทาฯปฏิบัติสะดวกรู้ช้า )
470 ปสาทสูตร ความเลื่อมใสในสิ่งเลิศ 4 ประการ เลื่อมใสในพระพุทธเจ้า- อริยมรรคมีองค์ ๘- เลื่อมใสในวิราคะ- เลื่อมใสในพระสงฆ์
469 ปสาทสูตร ความเลื่อมใสในสิ่งเลิศ 4 ประการ เลื่อมใสพระพุทธเจ้า- อริยมรรคมีองค์ ๘- เลื่อมใสในวิราคะ- เลื่อมใสในพระสงฆ์
920 ปาราชิก 4 เป็นอาบัติหนัก ที่เรียกว่า อเตกิจฉา คือแก้ไขไม่ได้เลย (คือต้องออกจากความเป็นพระ -ต้องสึก)
(4) ผ พ
564 ผลของการรู้ และไม่รู้อริยสัจ 4 เปรียบซัดท่อนไม้ขึ้นสู่อากาศ..และการดับเร่งดับไฟที่ลุกโพรงบนศรีษะ..
1410 ผัง อริยะบุคคล 4 จำพวก และคุณสมบัติ (โสดาบัน สกทาคามี อนาคามี อรหันต์) สังโยชน์เบื้องต่ำ ๕ สังโยชน์เบื้องสูง ๕
S4-75 ผู้ทำศาสนาเสื่อม 4 อย่าง (เล่าเรียนมาผิด-เป็นคนว่ายาก-ไม่บอกสอน-สะสมบริกขารโดยไม่เหลียวแลวิเวกธรรม)
936 ผู้ไม่ประกอบด้วยธรรม 4 ประการ(ปปติตสูตร) คือ ศีล สมาธิ ปัญญา วิมุตติ เรียกว่าผู้ตกไปจากธรรมวินัยนี้
559 ผู้ไม่รู้อริยสัจ 4 ชื่อว่าตกอยู่ในที่มืด-อยู่ในหลุมเพลิง เพราะเขายินดีต่อสิ่งปรุงแต่งที่เป็นไปเพื่อความเกิดที่สร้างขึ้นเอง
867 พรหมวิหาร 4 (การแผ่เมตตา) ตรัสกับชีวก เธอมีใจประกอบด้วยเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา แผ่ไป ตลอดทิศทั้ง ๔
658 พรหมวิหาร 4 ของปริพาชก เมตตสูตร ที่ไม่อาจรู้ว่า มีอะไรเป็นคติ มีอะไรเป็นอย่างยิ่ง มีอะไรเป็นผล มีอะไรเป็นที่สุด
S11-13 พระเจ้าจักรพรรดิ ทรงสัมฤทธิผล 4 อย่าง 1 รูปงามเกินมนุษย์ 2.อายุยืนเกินมนุษย์ 3.อาพาธน้อย 4.เป็นที่รักใคร่ของพราหมณ์
1287 พระพุทธเจ้าทรงพระประชวร ใน 4 เหตุการณ์ (จากที่พบในพระไตรปิฎก)
(4) ม ย ว
1601 มนุษย์เข้าถึงอนาคามีได้ 4 แบบ และจะปรินิพพานในภพนั้น... รวมพระสูตรที่เกี่ยวข้อง และ ผังอนาคามี เปรียบเทียบ
S10-16 มนุษย์ใน 4 ทวีป (มนุษย์โลก และมนุษย์ต่างดาวในโลกธาตุนี้)
1057 มนุษย์ในโลกธาตุอาศัยอยู่ 4 แห่ง 1. ชมพูทวีป 2. อปรโคยานทวีป 3. อุตตรกุรุทวีปพันหนึ่ง 4. ปุพพวิเทหทวีป
465 มหาประเทศ 4 อย่าพึงรับรองอย่าพึงคัดค้าน ฟังจากพระพุทธเจ้า.. ฟังมาจากสงฆ์ในอาวาส-พระเถระ-ประธานสงฆ์ ...
484 มหาภูตรูป 4 ย่อมดับไม่มีเหลือ ในที่ไหนหนอ....เธอมิควรถามอย่างนั้น แต่ควรถามว่า มหาภูตรูปย่อมตั้งอยู่ไม่ได้ในที่ไหน
1617 เรา (ตถาคต) เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ตั้งอยู่ในธรรม เป็นธรรมราชา มีสมุทรทั้ง 4 เป็นขอบเขต
148 ม้าอาชาไนย 4 ประเภท (ม้าฉลาดเมื่อเห็นเงาปฏัก ย่อมขวนขวายโดยพลัน)
B14-01-6 โยคะ 4 (จากพระโอษฐ์) เป็นไฉน กามโยคะ ภวโยคะ ทิฏฐิโยคะ อวิชชาโยคะ
944 โยคะสูตร (ฉบับหลวง) โยคะ ๔ ประการเป็นไฉน กามโยคะ ภวโยคะ ทิฏฐิโยคะ อวิชชาโยคะ
342 รูปสัญญา 4 และ วิชชา 8 (รายละเอียดของฌานแต่ละระดับ)
S7-213 รู้อริยสัจ 4 รีบด่วนกว่าการดับไฟบนศีรษะ ต้องใช้..ฉันทะ วายามะ อุสสาหะ อัปปฏิวานี สติ และสัมปชัญญะ

750

เวสารัชชญาณ 4 อย่าจอมโลก-เวสารัชชสูตร ทรงประกาศ ตําแหน่งจอมโลก บันลือสีหนาทประกาศพรหมจักร ไม่มีใครเทียบ

(4) ส ห
S12-24 สติปัฎฐาน 4 คือ กองกุศลที่แท้จริง (กุศลราสี) สรุปย่อจาก มหาสติปัฏฐานสูตร
195 สติปัฏฐาน 4 ว่าด้วยการเจริญสติปัฏฐาน พิจารณากาย -เวทนา- จิต- ธรรม
156 สมณะมีในธรรมวินัยนี้เท่านั้น (4 สมณะ) (สมณะที่ 1 สมณะที่ 2 สมณะที่ 3 สมณะที่ 4)
S9-020 สังเวชนียสถาน 4 สังเวชนียสถาน ๔ แห่งเหล่านี้ เป็นที่ควรเห็น ของกุลบุตรผู้มีศรัทธา เป็นอารมณ์ที่เป็นไปเพื่อสุคตโลกสวรรค์
1602 สัจจะของพราหมณ์ 4 ประการ ชื่อว่ากล่าวจริง ไม่ใช่กล่าวเท็จ
S3-26 สัมมัปปธาน 4 หรือ ปธาน 4 (ความเพียรชอบ ความเพียรใหญ่ เพียรยับยั้งอกุศล เพียรสร้างกุศล)
1658 สุข 4 ประการ อันเกิดจากผู้บริโภคกามของคฤหัสถ์ (อันนนาถสูตร)
S7-227 สิ่งที่อยู่ไกลกัน 4 อย่าง ฟ้ากับดิน ..ฝั่งนี้และฝั่งโน้นแห่งสมุทร..พระอาทิตย์ขึ้น-ตก ..ธรรมของสัตบุรุษและอสัตบุรุษ
180 โสตาปัตติยังคะ 4 คุณสมบัติของโสดาบัน (เลื่อมใสอย่างยิ่งในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ถึงพร้อมด้วยศีล)
645 เหตุ 4 ประการ ทุกกรกิริยา- เหตุที่ทำให้พระองค์กลับมาฉันอาหาร
(4)
453 อจินไตย 4 เรื่องที่ไม่ควรคิด คิดแล้วอาจเป้นบ้า..พุทธวิสัยของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ฌานวิสัย วิบากกรรม คิดในเรื่องของโลก
S14-41 อริยะบุคคล 4 จำพวก หลังทำกาละในภพมนุษย์แล้ว ไปเกิดในภพไหน
933 อรหันต์ผู้มีฤทธิ์ 4 รูป เข้าเตโชธาตุกสิณ ตามพระผู้มีพระภาคขึ้นไปปรากฎในพรหมโลก พระโมค กัสสป กัปปินะ อนุรุทธ
S13-15 อริยะบุคคล 4 อีกนัยยะหนึ่ง สมณะมจละ(ผู้ไม่หวั่นไหว) สมณะบุณฑริก(บัวขาว) สมณะปทุมะ(บัวชมพู) สมณะสุขุมาล
1586 อริยวงศ์ 4 ประการ คุณสมบัติของบรรพชิตผู้สันโดษ ตามมีตามได้ 1.สันโดษด้วยจีวร 2.บิณฑบาต 3.เสนาสนะ 4.เจริญภาวนา
566 อริยสัจ 4 - ที่ทรงแสดงโดยพิสดาร โดยละเอียด
177 อริยสัจ 4 (โดยละเอียด) (ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค)โดยละเอียด
563 อริยสัจ 4 ทรงบันลือสีหนาท ประกาศจตุราริยสัจ(อริยสัจสี่) พระยาสัตว์ชื่อสีหะ ออกจากถ้ำที่อาศัย สัตว์ทั้งหลายก็สะดุ้งกลัว
562 อริยสัจ 4 ทรงพยากรณ์เฉพาะเรื่องอริยสัจ 4 ว่านี้ทุกข์ เหตุเกิดทุกข์ ...เรื่องอื่นที่ไม่เป็นไปเพื่อดับทุกข์ ไม่ทรงพยากรณ์
560 อริยสัจ 4 เรียนอริยสัจกับหนู 4 จำพวก หนูขุดรูแต่ไม่อยู่:เรียนปริยัติแต่ไม่รู้อริยสัจ-หนูไม่ขุดรูแต่อยู่:ไม่เรียนปริยัติแต่รู้อริยสัจ
S10-21 อริยสัจ 4 อย่าง เป็นสิ่งที่คงที่
561 อริยสัจหลายนัยยะ
166 อริยสัจ 4 ความจริงอันประเสริฐมีสี่อย่างเหล่านี้, สี่อย่างเหล่าไหนเล่า ?
1244 อัศจรรย์ 4 อย่างที่ไม่เคยมี จากการบังเกิดของตถาคต 1.ประชาชนพอใจในกามคุณ ครั้นตถาคตแสดง ก็ฟัง เงี่ยหูฟัง
1225 อานิสงส์ 4 ประการ จากการฟังธรรมเนืองๆ จนคล่องปาก หลังทำกาละ จะระลึกบทแห่งธรรมได้เอง .. ภิกษุผู้มีฤทธิ์ขึ้นมาสอน
233 อานิสงส์ 4 ประการทรงจำสุตตะ คำพระศาสดาจนคล่องปากขึ้นใจ อานิสงส์ ๔ ประการ (บทแห่งธรรมย่อมปรากฏแก่เธอ)
693 อาหาร 4 อัตถิราคสูตร กวฬีการาหาร ผัสสาหาร มโนสัญเจตนาหาร วิญญาณาหาร
1399 อาหาร 4 ของสัมภเวสีสัตว์ และภูตสัตว์ คือ กวฬีการาหาร (อาหารเข้าปาก) ผัสสาหาร (อาหารอายตนะ๖) มโนสัญเจตนาหาร
691 อาหาร 4 ปุตตมังสสูตร (ชุดจากพระโอษฐ์) อาหาร ๔ เพื่อความดำรงอยู่ของสัตว์โลก และแก่สัตว์ผู้แสวงหาที่เกิด(สัมภเวสี)
1749 อาหาร 4 ปุตตมังสสูตร (ฉบับหลวง) อาหาร ๔ เพื่อการดำรงอยู่ของสัตว์โลก และผู้แสวงหาที่เกิด(สัมภเวสี)
1591 รวมเรื่องอิทธิบาท 4 ประกอบด้วย ฉันทะสมาธิ วิริยะสมาธิ จิตตสมาธิ วิมังสาสมาธิ และปธานสังขาร จักไม่ย่อหย่อน
982 อิทธิบาท 4 เจริญอิทธิบาท ๔ : ฉันทสมาธิ วิริยสมาธิ จิตตสมาธิ วิมังสาสมาธิ ผล...ย่อมแสดงฤทธิ์ ได้หลายอย่าง
492 อุปาทาน 4 (โดยละเอียด) กามุปาทาน ทิฏฐุปาทาน สีลัพพัตตุปาทาน อัตตวาทุปาทาน อุปาทาน ๔ มีอะไรเป็นต้นเหต.. มีตัณหาเป็นต้นเหตุ
254 อุปาทาน 4 อย่าง กามุปาทาน/ทิฏฐุปาทาน ยึดถือในความเห็นของตน/สีลัพพัตตุปาทาน /อัตตวาทุปาทาน
 
5
283 กฎ- ความเชื่อ 5 ประการของวรรณะพราหมณ์ ... พวกพราหมณ์เป็นโอรสของพรหม เกิดจากพระอุระของพรหม

450

5 พระสูตรที่สำคัญ หลังทรงตรัสรู้แล้ว และ...ด้วยบุคคลประเภทนี้เอง ที่ทำให้ พระศาสดาแสดงซึ่งธรรมอันวิเศษ
985 5 เรื่องที่พระเทวทัตขอเป็นวินัยสงฆ์ 1.อยู่ป่า 2.บิณฑบาตตลอดชีวิต 3.ครองบังสุกุลตลอดชีวิต 4.อยู่โคนไม้ 5.ไม่ฉันเนื้อสัตว์
296 กามคุณ 5 พราหมณสูตร (กามคุณ ๕ ประการนี้ เรียกว่าโลกในวินัยของพระอริยเจ้า กามคุณ ๕ ประการเป็นไฉน...)
512 กามคุณ 5 อย่าง.. รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส หาใช่กามไม่ ความกำหนัดไปตามอำนาจความตริตรึกนั่นแหละ คือ กามของคนเรา
S5-96 กามคุณ 5 (ทรงอุปมาเหมือนติดบ่วงนายพราน รูปที่เห็นด้วยตา, เสียงทางหู, กลิ่นทางจมูก, รสทางลิ้น, และโผฏฐัพพะทางกาย)
(5)
547 ขันธ์ 5 คือ มาร นัยที่ ๑ - นัยที่ ๒ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณเป็นมาร.. เมื่อรูปมีอยู่ มารจึงมี ผู้ทำให้ตายจึงมี ผู้ตายจึงมี
639 ขันธ์ 5 โดยละเอียด วิภาคแห่งปัญจุปาทานขันธ์ .. รากเง่าแห่งอุปาทานขันธ์ คือฉันทะ .. อุปาทานมี ๔ สี่อย่าง คือ
569 ขันธ์ 5 ที่บัญญัติกฎแห่งสังขตะ กฎแห่งความบังเกิดขึ้นก็ดี กฎแห่งความเสื่อมไปก็ดี.....ถูกบัญญัติอยู่แก่ธรรมเหล่าไหนเล่า?
590 ขันธ์ 5 เบญจขันธ์ หลายแง่ ขันธ์5 ควรรอบรู้- การบัญญัติขันธ์5- ขันธ์5 กฎแห่งสังขตะ(บังเกิดขึ้น เสื่อม เปลี่ยนแปลง)
572 ขันธ 5 เป็นเครื่องผูกพันสัตว์ ย่อมตามเห็นซึ่งรูป โดยความเป็นตน เห็นตนว่ามีรูป เห็นรูปว่ามีอยู่ในตน เห็นตนว่ามีอยู่ในรูป บ้าง
S2-46 ขันธ์ 5 เป็นไฉน (รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์)
S7-201 ขันธ์ 5 เป็นทั้งผู้ฆ่าและผู้ตาย..เมื่อความยึดถือในรูปมีอยู่ มารก็จะมี ผู้ให้ตายก็จะมี ผู้ตายก็จะมี ว่าโรค หัวฝี ลูกศร.. ทุกข์เกิดแล้ว
571 ขันธ์ 5 เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา รูปเป็นทุกข์.. สิ่งใดเป็นทุกข์สิ่งนั้นเป็นอนัตตา..สิ่งใดเป็นอนัตตานั่นไม่ใช่ของเราไม่ใช่เราไม่ใช่ตัวตน
570 ขันธ์ 5 ไม่เที่ยง มีความแปรปรวน ...รูป เวทนา สัญญา สังขาร เป็น สมุทยธรรม เป็นวยธรรม และเป็นนิโรธธรรม
443 ขันธ์ 5 และอุปาทานขันธ์ 5 รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง ทั้งที่เป็นอดีต อนาคต หรือปัจจุบันก็ตามเป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม...
579 ขันธ์ 5 สุข-ทุกข์ เกิดขึ้น เพราะการมีอยู่ของขันธ์, การประพฤติพรหมจรรย์ ก็เพื่อรอบรู้ทุกข์ ตาเป็นทุกข์ รูปเป็นทุกข์
S7-200 ขันธ์ 5 เหตุปัจจัยของ ขันธ์ 5 ก็เป็นอนัตตา แม้เหตุปัจจัยเพื่อการบังเกิดขึ้นของรูป ก็เป็นอนัตตาแล้วรูปจักเป็นอัตตาได้อย่างไร
352 ขันธ์ 5 อุปมาขันธ์ 5 ( รูปอุปมาเป็น-ฟองน้ำ.. เวทนา-ต่อมน้ำ.. สัญญา-พยับแดด.. สังขาร-ลอกกาบก้วย.. วิญญาณ-นักมายากล)
590 ขันธ์ 5 - เบญจขันธ์ หลายแง่หลายมุม
1101 ขันธ์ 5 และ อุปมา ขันธ์ 5 รวม 39 พระสูตร
1183 ขันธ์ 5 เป็นของเร่าร้อน รูป เวทนา สัญญาเป็นของเร่าร้อน ผู้ใดเห็นอยู่แบบนี้ย่อมเบื่อหน่าย คลายกำหนัดจึงหลุดพ้น
1326 ของที่ไม่ควรแบ่ง 5 อย่าง 1. อาราม 2.วิหาร 3เตียง 4.หม้อมีดจอบ 5.เถาวัลย์ ดิน แม้แบ่งแล้วก็ไม่เป็นอันแบ่ง รูปใดแบ่งต้องอาบัติ
   
(5) ค ฐ ต ท
324 คติ 5 และอุปมา สารีบุตร ! คติ ๕ ประการเหล่านี้ มีอยู่ คือ (๑) นรก (๒) กำเนิดเดรัจฉาน (๓) เปรตวิสัย (๔) มนุษย์ (๕) เทวดา
1120 ความตระหนี่ 5 อย่าง (มัจฉริยะ๕) ตระหนี่ที่อยู่ ตระหนี่สกุล ตระหนี่ลาภ ตระหนี่วรรณะ ตระหนี่ธรรม (ตระหนี่ธรรมน่าเกลียดยิ่ง)
1619 เครื่องผูกพันใจ 5 ประการ (วินิพันธสูตร) ภิกษุยังทะยานอยากในกาม ในกาย ในรูป ในการนอน บำเพ็ญเพียรเพื่อจะเป็นเทวดา
312 ฐานสูตร (ฐานะ 5 ประการ) อันสมณะ พราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรือใครๆในโลก ไม่พึงได้เป็นไฉน
S1-02 ฐานะ 5 ประการที่ไม่อาจได้ตามที่ปราถนา (อย่าแก่เลย..อย่าเจ็บ อย่าตาย อย่าสิ้นไป อย่าวินาศเลย)
S8-259 ฐานะที่ตั้งแห่งอนุสสติ 5 ประการ มีสติก้าวไป ถอยกลับ ยืนอยู่ นั่งอยู่ มีสติสำเร็จการนอนอยู่ มีสติอธิษฐานการงาน
844 ฐานะที่ตั้งแห่งอนุสสติ มี 5 อย่าง การฝึกเพื่อมีสติสัมปชัญญะ สงัดจากกาม สงัดจากอกุศล เข้าปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน
1023 ต้นไม้ 5 ชนิด ที่ทรงประทับเมื่อแรกตรัสรู้เพื่อเสวยวิมุตติตลอด 7 วัน ต้นโพธิ์ อชปาลนิโครธ มุจจลินท์ ราชายตนะ อชปาลนิโครธ
S12-18 ทรัพย์ 5 ประการเป็นไฉน ทรัพย์คือศรัทธา คือศีล คือสุตะ คือจาคะ คือปัญญา
S10-32 ทุกข์ของสตรี 5 ประการ อาเวณิกสูตร เว้นจากญาติ มาตุคามมีระดู มาตุคามมีครรภ์ มาตุคามเข้าถึงความเป็นหญิงบำเรอของบุรุษ
1569 เทวดาซึ่งนับเนื่องในหมู่ วลาหก มี 5 พวก สีตวลาหก อุณหวลาหก อัพภวลาหก วาตวลาหก วัสสวลาหก
118 เทวดาตายจะมีอาการ 5 อย่าง (ผิวพรรณ-อาภรณ์เศร้าหมอง ดอกไม้เหี่ยวเฉา เหงื่อออกรักแร้...)
S4-P119 เทวดาพรหม 5 ชั้น (เทวดารูปภพ) อายุของเทวดาชั้นพรหมนี้ มีอายุ 1 กัป - 16,000 กัป
620 เทวทูตทั้ง 5 (แบบย่อ) เทวทูตที่ 1 คือการเกิด เทวทูตที่2 คือความแก่ ..3.คือความเจ็บ ..4.คือการถูกลงโทษ ..5.คือความตาย
412 เทวทูตทั้ง 5 (แบบเต็ม) เทวทูตที่ 1 คือการเกิด เทวทูตที่2 คือความแก่ ..3.คือความเจ็บ ..4.คือการถูกลงโทษ ..5.คือความตาย
S12-20 ทำบุญได้บาปด้วยเหตุ 5 ประการ ผู้ใดฆ่าสัตว์เจาะจงตถาคต หรือสาวกของตถาคต ผู้นั้นย่อมประสพบาป
   
(5) ธ น
S10-22 ธรรม 5 ประการ ของภิกษุผู้เถระ อันเป็นที่รัก เป็นที่พอใจ เป็นที่เคารพ เป็นที่ยกย่อง ของเพื่อนพรหมจรรย์
1584 ธรรม 5 ประการของภิกษุ ที่ควรยกย่อง และไม่ควรยกย่อง /เหมือนถูกนำมาเก็บไว้ในนรก หรือเหมือนถูกเชิญมาอยู่ในสวรรค์...
1080 ธรรม 5 ประการ เถรสูตร ภิกษุผู้ปฎิบัติเพื่อความฉิบหาย และ ภิกษุผู้ปฎิบัติเพื่อความสุข ความเจริญ แก่มหาชน
858 ธรรม 5 ประการ เป็นเครื่องทำความเคารพพระศาสดา ..เป็นผู้มีอาหารน้อย..จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ เป็นผู้สงัด
S3-39 ธรรม 5 ประการ รักษาพรหมจรรย์ด้วยน้ำตา (ธรรม 5 อย่างคือ ที่ชื่อว่า ศรัทธา หิริ โอดตัปะ วิริยะ ปัญญา)
1135 ธรรม 5 อย่าง มีอุปการะมาก (พระสารีบุตรแสดงธรรมให้กับภิกษุ ๕๐๐ รูป) - ทสุตตรสูตร
1502 ธรรม 5 ประการ ที่ทำให้ เข้าถึง อบาย - นรก เมื่อกายแตก (อนุรุทธสูตร)
1503 ธรรม 5 ประการ ที่ทำให้ เข้าถึง สุคติโลกสวรรค์ เมื่อกายแตก (อนุรุทธสูตร)
1125 ธรรมมีประเภทละ 5 (โดยสารีบุตร) ขันธ์ ๕ .อุปาทานขันธ์ ๕ ..กามคุณ ๕..คติ ๕ มัจฉริยะ ๕ นีวรณ์ ๕ สิกขาบท ๕ (ศีล๕)
1309 นิมิต 5 ประการ มนสิการนิมิตอื่น...พิจารณาโทษของวิตก.. ไม่นึกไม่ใส่ใจวิตก... มนสิการสัณฐานแห่งวิตก.. พึงกัดฟันด้วยฟัน
S9-42 นิวรณ์ 5 (อุปมา) นิวรณ์เป็นปัจจัยให้มนต์ไม่แจ่มแจ้ง (กามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจะกุกกุจจ วิจิกิจฉา)
S3-P31 นิวรณ์ 5 คืออาหารของอวิชชา ปฏิจจ-แห่งอาหารของอวิชชา (ทุจริต3- กาย วาจา ใจ ก็เป็นอาหารของนิวรณ์5)
S12-29 นิวรณ์ 5 เป็นปัจจัยให้มนต์ไม่แจ่มแจ้ง (สคารวสูตร)
120 นิวรณ์ 5 สคารวสูตร (นิวรณ์เป็นปัจจัยให้มนต์ไม่แจ่มแจ้ง นิวรณ์มี 5 ประการ เป็นเครื่องปิดกั้นหรือขัดขวางไม่ให้บรรลุความดี)
(5) บ ผ พ ภ
264 บุคคล 5 จำพวก จูฬโคปาลสูตร (อุปมาด้วยฝูงโคว่ายข้ามแม่น้ำกับอรหันต์ อนาคา สกทาคามี โสดาบัน 5.ธัมมา-สัทธานุสารี )
S10-31 บุรุษ- คุณสมบัติของบุรุษ 5 ประการ ย่อมไม่เป็นชอบใจ และไม่ชอบใจของสตรี) มนาปสูตร
S5-95 ผู้ถูกตะปูตรึงใจ 5 ตัว (ภิกษุที่เคลือบแคลงสงสัยพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ ไตรสิกขา ครุ่นโกรธ..ย่อมหาความเจริญไม่ได้)
509 ผู้สมบูรณ์ด้วยทิฐิ 5 จำพวก (นิฏฐาสูตร ) พวก1 เชื่อมั่นในโลกนี้ สัตตกขัตตุ โกลัง เอก.. พวก2 โลกนี้ไปแล้ว อนาคามี 5 จำพวก
442 ผู้อยู่ป่าชนะภัย 5 อย่าง..ภัยจากงูพิษแมลงป่อง..พลาดตกหกล้ม... มีสิงห์เสือโคร่ง..ภัยจากโจร..ภัยจากมนุษย์และ อมนุษย์
264 ฝูงโค 5 จำพวกว่ายข้ามแม่น้ำ (อุปมาด้วยฝูงโคว่ายข้ามแม่น้ำกับ บุคคล 5 จำพวก อรหันต์ อนาคามี สกทาคามี โสดาบัน สัทธา)
918 พระพุทธเจ้า 5 พระองค์ ในภัททกัปนี้ กกุสันธะ ยุคมนุษย์ ๔หมื่นปี โกนาคมนะ ๓หมื่น กัสสปะ ๒หมื่น ตถาคต ๑๐๐ เมตไตรย ๘หมื่น
656 พราหมณ์บัญญัติ คุณสมบัติและวรรณะของพราหมณ์ 5 ประการ พราหมณ์โสณทัณฑะ โต้วาทะกับพระผู้มีพระภาค
1447 ภัย 5 ประการ ที่จะเกิดแก่ศาสนา 1.ชอบจีวรดีงาม 2.บิณฑบาตดีงาม 3.เสนาสนะดีงาม 4.คลุกคลีภิกษุณี 5.คลุกคลีบุรุษของ
1104 ภัยในอนาคต 5 ประการ(ฉบับหลวง) อนาคตสูตรที่ ๔ ภิกษุเป็นผู้ชอบจีวร ชอบบิณฑบาต ขอบเสนาสนะ คลุกคลีภิกษุณี คลุกคลี...
419 ภัยในอนาคต 5 ประการ (จากพระโอษฐฺ์) ที่ต้องเร่งความเพียร ความชรา - ความเจ็บไข้- ข้าวเสียหาย- โจรป่ากำเริบ- สงฆ์แตกกัน
1546 ภัยเวร 5 ประการ ของอริยสาวกสงบแล้ว (ศีล 5)
1074 ภัยเวร 5 ประการ ตรัสไว้ ๒ พระสูตร ตรัสกับอนาถบิณฑิก และตรัสกับภิกษุ ท. โดยเนื้อความตรงกัน
919 โภชนทานสูตร 5 ประการ (อานิสงส์ในฐานะผู้ให้) ให้อายุ วรรณะ สุข กำลัง ปฏิภาณ ย่อมได้ที่เป็นทิพย์(เทวดา) และของมนุษย์
(5) ม ร ว ศ ส ห
667 มหาโจร 5 จำพวก 1.บวชหาบริวาร 2.ยกตนข่มท่าน 3.ตามกำจัดภิกษุผู้บริสุทธิ์ 4.หวังสิ่งของ 5.อวดอุตตริอันไม่เป็นจริง
S13-43 ม้าของพระราชาประกอบด้วยองค์ 5 กับ ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ (อาชานิยสูตร)
224 รัตนะ 5 เป็นไฉน (ปิงคิยานีสูตร) พระพุทธเจ้า ผู้ถ่ายทอดคำสอน อริยะบุคคล ผู้เดินมรรค(ผู้ปฏิบัติ) ผู้กตัญญูกตเวที
700 วาจา 5 ถ้อยคำที่พึงกล่าว 5 ประการ 1.โดยกาลควร-ไม่ควร 2.จริง-ไม่จริง 3.อ่อนหวาน-หยาบ 4.ประโยชน์-ไม่ 5.เมตตา-มีโทสะ
S7-225 วาจาประกอบด้วยองค์ 5 ประการ วาจาสูตร
1327 ศาสดา 5 จำพวก มีปรากฏอยู่ในโลก... บางคนมีศีลไม่บริสุทธิ์ แต่ปฏิญาณว่ามีศีลบริสุทธิ์ อาชีวะไม่บริสุทธิ์ แต่ปฏิญานว่าบริสุทธิ์
B12-02 ศีล 5 จากหนังสือปฐมธรรมหน้า 118
1074 ศีล 5 หรือ ภัยเวร ๕ ประการ ตรัสไว้ ๒ พระสูตร ตรัสกับอนาถบิณฑิก และตรัสกับภิกษุ ท. โดยเนื้อความตรงกัน
548 ศีลวิบัติ 5 ประการ อักโกสกสูตร โทษของคนทุศีล เสื่อมทรัพย์ ศีลวิบัติย่อมฟุ้งไป ไม่องอาจ ตายไปย่อมเข้าถึง อบาย- นรก
S10-30 สตรี-คุณสมบัติของมาตุคาม(สตรี) 5 ประการ ที่ไม่เป็นที่ชอบใจ และไม่เป็นที่ชอบใจของบุรุษ อมนาปสูตร
1435 สมัยที่ไม่สมควรกระทำความเพียร 5 ประการ และสมัยที่สมควรกระทำความเพียร 5 ประการ (สมยสูตร)
1412 สังขารทั้งหลาย 5 นัยยะ (1)ความเกิดแห่งสังขารเพราะอวิชชาเกิด..(2) ลมหายใจเข้า-ออกคือกายสังขาร..วิตกวิจารเป็นวจีสังขาร
172 สังโยชน์เบื้องต่ำ 5 เบื้องสูง 5 (จากพระโอษฐ์) สังโยชน์คือกิเลสผูกมัดใจสัตว์
318 สังโยชน์เบื้องต่ำ 5 เบื้องสูง 5 (โอรัมภาคิยสังโยชน์) สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส กามฉันทะ พยาบาท
1410 สังโยชน์เบื้องสูง 5 (อุธัมภาคิยสังโยชน์) รูปราคะ (ติดใจอารมณ์แห่งรูปฌาน) อรูปราคะ (ติดใจในอรูปฌาน) มานะ อุทธัจจะ อวิชชา
320 สาเกตสูตร ว่าด้วยอินทรีย์ 5 พละ 5 (สิ่งใดเป็นวิริยินทรีย์ สิ่งนั้นเป็นวิริยพละ...)
S4-P119 สุทธาวาส 5 ชั้น เทวดาชั้นสุทธาวาส อายุของเทวดาชั้นนี้ มีอายุ 1,000 กัป - 16,000 กัป
1441 เหตุแห่งวิมุตติ 5 ประการ (วิมุตติสูตร) 1.ศาสดาหรือภิกษูแสดงธรรม 2.ภ.แสดงธรรม 3.ภ.สาธยายธรรม 4.ตรึกตาม 5.สมาธินิมิต
(5)
285 อชิตะปัญหา 5 ประการ ... สติปัญญา ดับเมื่อใด อชิตสูตร (สติและปัญญา ดับไปเมื่อใด)
S3-10 อสัปปุริสทาน 5 และ สัปปุริสทาน 5 ประการ (การให้ทาน) ให้โดยเคารพ อ่อนน้อม ด้วยมือตนเอง ของไม่เป็นเดน...
S7-223 อาชีพต้องห้าม 5 ประการ- วณิชชสูตร
S7-226 อานิสงส์ 5 ประการ เมื่อบรรพชิตผู้มีศีลเข้าไปหาสกุล เป็นไปเพื่อสวรรค์..เกิดในสกุลสูง..มีศักดิ์ใหญ่..มีทรัพย์มาก..มีปัญญามาก
S10-23 อานิสงส์ในการฟังธรรม 5 ประการ ได้ฟังสิ่งที่ไม่เคยฟัง ฟังแล้วเข้าใจชัด บรรเทาความสงสัย ความเห็นตรง จิตย่อมเลื่อมใส  
1436 อานิสงส์ในการฟังธรรมตามกาล 5 ประการ นันทกสูตรย่อมเป็นที่รักของพระศาสดา ย่อมซาบซึ้งอรรถซึ้งธรรม ย่อมแทงตลอด
1661 รวมเรื่องอินทรีย์ ๕ ฉบับหลวงเล่มที่ ๑๙ และเล่มที่ ๑๒ รวม 51 พระสูตร
307 อินทรีย์ 5 (ความหมาย) สัทธินทรีย์(ศรัทธา) วิริยินทรีย์(วิริยะ) สตินทรีย์(สติ) สมาธินทรีย์(สมาธิ) ปัญญินทรีย์(ปัญญา)
319 อินทรีย์ 5 (วิภังคสูตรที่ ๑) ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา
S6-138 อินทรีย์ 5 พระมหาโกฏฐิกะ ถามพระสารีบุตร
320 อินทรีย์ 5 พละ 5 (สาเกตสูตร)สิ่งใดเป็นวิริยินทรีย์ สิ่งนั้นเป็นวิริยพละ เหมือนแม่น้ำสายเดียวกันแยกระหว่างเกาะกลางแม่น้ำ
306 อินทรีย์ 5 พละ 5 สาเกตสูตร (สิ่งใดเป็นสัทธินทรีย์ สิ่งนั้นเป็นสัทธาพละ สิ่งใดเป็นสัทธาพละ สิ่งนั้นเป็นสัทธินทรีย์...)
1431 อุปกิเลส 5 ประการ กามฉันทะ พยาบาท ถิ่นมิทธะ อุทธัจจ วิจิกิจฉา (นิวรณ์๕)
175 อุปาทานขันธ์ อุปาทานขันธ์ 5 ต่างกันหรือไม่ (ขันธ์5 คือ รูปเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ,)
 
6
S7-165 กรรม 6 อย่าง สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับ ..เจตนาเป็นกรรม..เหตุเกิด..ความมีประมาณต่างๆ..วิบากแห่งกรรม.. ความดับ.. ข้อปฏิบัติ...
784 การได้อารมณ์ 6 นานานัตตธาตุ.. ปฏิจจสมุปบาทแห่ง อารัมมณลาภ นานัตตะ (การได้อารมณ์หก)
1495 ชาติ 6 ประการ ของพระศาสดา บุคคลผู้มีชาติดำ(สกุลต่ำ)ประพฤติธรรมดำ..บุคคลผู้มีชาติขาว(สกุลสูง) ประพฤติธรรมดำ
1044 ตาราง เปรียบเทียบ อภิญญา 6 วิชชา 3.. ญาณ 3... ปฏิหาริย์ 3.. วิชชา 8
S3-09 ธรรม 6 ประการ ที่ภิกษุต้องละ (มานะถือตัว ...เย่อหยิ่ง ความเข้าใจผิด ความหัวดื้อ...)
331 ธรรม 6 หมวดใช้ทดสอบความเป็นอรหันต์ (ผัสสะสี่/อุปาทานขันธ์๕/ธาตุหก/4อายตนะภายใน/5อายตนะ-นอก/6 ถอนมานะ
1136 ธรรม 6 อย่าง มีอุปการะมาก (พระสารีบุตรแสดงธรรมให้กับภิกษุ ๕๐๐ รูป) - ทสุตตรสูตร
1333 ธรรม อย่างละ 6 อย่าง อนุตตริยะ ๖ อย่าง อนุสสติฐาน ๖ อย่าง สตตวิหาร ๖ อย่าง อภิชาติ ๖ อย่าง นิพเพธภาคิยสัญญา ๖ อย่าง
1126 ธรรมมีประเภทละ 6 (สารีบุตร) อายตนะภายใน๖ ภายนอก๖.. วิญญาณ๖ ผัสสะ๖ เวทนา๖ สัญญา๖ สัญเจตนา ๖ ตัณหา๖ ธาตุ ๖
999 ธาตุ 6 คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ วิญญาณธาตุ
S8-275 ธาตุ 6 อย่าง ภิกษุผู้ฉลาดในธาตุ ธาตุ 6 อย่าง (1) ธาตุ 6 อย่าง(2) ธาตุ 6 อย่าง(3)
905 ธาตุมี 6 อย่าง ภิกษุผู้ฉลาดในธาตุ ธาตุมี 6 อย่าง ธาตุ 3 อย่าง (พหุธาตุกสูตร)
518 ธาตุวิภังค์ 6..แสดงธรรมแก่ ปุกกุสาติ โดยไม่รู้ว่าเป็นพระพุทธเจ้า หลังฟังธรรมรู้สึกซาบซึ้ง คิดว่าเป็นพระพุทธเจ้าแน่
(6) บ ผ ม ว ส
994 บุคคล 6 จำพวก อุทกสูตร เราย่อมกำหนดรู้ใจบุคคลบางคนในโลกนี้ด้วยใจอย่างนี้ว่า กุศลธรรมก็ดีอกุศลธรรมก็ดี ของบุคคลนี้มีอยู่
823 บุคคลผู้ควรกราบไหว้ อาหุเนยยสูตร(รวม7 พระสูตร) ภิกษุประกอบด้วยธรรม 6 ,6, 8, 8, 10 ประการ.. บุคคล9 และ10 จำพวก
S9-50 ผลแห่งความเป็นโสดาบัน 6 อย่าง
924 ผลแห่งทาน 6 ประการ ที่ประจักษ์ในปัจจุบัน ของคนที่มีใจศรัทธา เป็นทานบดี สีหสูตร
302 ผัสสะ 6 ปฏิจจสมุปบาทมี เมื่อมีการกระทบทางอายตนะ (ผัสสะ 6 อายตนะ คือตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ)
622 ผัสสายตนะ 6 สังคัยหสูตรที่ 1 ..เฝ้าระวังผัสสะทาง ตา หู จมูก.. ผู้ไม่หวั่นไหว คือผู้ปราบราคะ-โทสะแล้ว ย่อมเข้าถึงนิพพาน
503 ผู้ประเสริฐของโลก 6 จำพวก 1.พระพุทธเจ้า 2.พระปัจเจก 3.สารีบุตร-พระโมค 4.อรหันต์ที่เหลือ 5.อนาคามี 6.โสดา-สกทา
1627 พุทธานุสสติ 6 ประการ (อนุสสติฏฐานสูตร) 1.ระลึกถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ ศีลของตน จาคะของตน ระลึกถึงเทวดา
S5-117 มานะ 6 ถือตัว, แกล้งลดตัว, ยกตัว, ถือตัวจัด, หัวดื้อ, สำคัญตัวเองว่าเลว
364 เวทนา 6 ความหมายของเวทนา..และอุปมาของคำว่าเวทนา
S13-50 วิญญาณ 6 จักษุวิญญาณ โสต ฆานะ ชิวหา กาย มโน
1100
สัญญา 6 พึงรู้จักสัญญา.. แดนเกิดของสัญญา ความต่างของสัญญา ความดับของสัญญา ทางดำเนินใหเถึงความดับไม่เหลือ
540 สัญญามี 6 หมวด สัญญาในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ในธรรมเพราะจำได้หมายรู้ จึงเรียกว่าสัญญา เช่นจำสีเขียว สีเหลืองฯลฯ
221 สัตว์ 6 ชนิด กายคตาสติ : โทษและคุณของกายคตาสติ (ทรงอุปมาเหมือนจับสัตว์ 6 ชนิด)
1393 สิกขามานา 6 ประการ (ศีล๖ ของภิกษุณี) ต้องปฏิบัติติดต่อกัน ๒ ปี ถ้าละเมิดข้อใดข้อหนึ่ง ต้องเริ่มนับใหม่ ครบแล้วจึงบวชได้
(6) ห อ
B12-01 หลักปฏิบัติต่อทิศทั้ง 6 ทิศเบื้องหน้า ทิศเบื้องขวา ทิศเบื้องหลัง ทิศเบื้องซ้าย ทิศเบื้องต่ำ ทิศเบื้องบน.. หนังสือปฐมธรรมหน้า 9
B1201-P4 หลักปฏิบัติต่อทิศทั้ง 6 (การแผ่เมตตา)
1350

เหตุแห่งความวิวาท 6 อย่าง มักโกรธ..ลบหลู่ตีเสมอ..ริษยาตระหนี่..โอ้อวดมีมายา..ปรารถนาลามกมีความเห็นผิด ..เชื่อถือผิวเผิน

361 อนุตตริยะ 6 ประการ (เห็นพระตถาคต -สดับธรรมตถาคต -ศรัทธาตถาคต- ฝึกอบรมในอธิศีล -รับใช้พระตถาคต -ระลึกถึงตถาคต)
S4-80 อนุตตริยะ 6 สิ่งที่ยอดเยี่ยม แบบย่อ เห็นตถาคต -สดับธรรม -ศรัทธาตถาคต
1143 อนุสสติ 6 ประการ (สิ่งควรระลึกถึง) 1.ตถาคต 2.พระธรรม 3.พระสงฆ์ 4.ศีลของตน 5.จาคะของตน 6.ระลึกถึงเทวดาว่ามีอยู่
1415

อบายมุข 6 (ทางเสื่อมแห่งทรัพย์) ๑.การดื่มสุรา ๒.เที่ยวกลางคืน ๓.เที่ยวสถานบันเทิง ๔.เล่นการพนัน ๕.คบมิตรชั่ว ๖.เกียจคร้าน

824 อภิญญา 6 มีอิทธิวิธี.. ทิพย์โสต..เจโตปริยญาณ(รู้ใจสัตว์)...บุพเพนิวาสา(ระลึกชาติได้) ทิพยจักษุ.. อาสวักขยญาณ
278 อภิภายตนะ 6 ประการ ปริหานสูตร และ อภิภายตนะ ๖ (ผู้มีธรรมอันไม่เสื่อม ภาวะที่มีอำนาจเหนืออายตนะ)
1027 อานิสงส์ 6 ประการ ในการฟังธรรมโดยกาลอันควร ผัคคุณสูตร ได้ฟังตถาคต สาวกตถาคตแสดงธรรม ระลึกบทแห่งธรรมได้เอง
1027 อานิสงส์ 6 ประการ ในการฟังธรรมโดยกาลอันควร ผัคคุณสูตร ได้ฟังตถาคต สาวกตถาคตแสดงธรรม ระลึกบทแห่งธรรมได้เอง
1438 อายตนะ (ภายใน) 6 เป็นทุกขอริยสัจ อายตนะ 6 เป็นของร้อน อายตนะ6 เป็นของมืด
997 อายตนะ 6 ภายใน๖ ภายนอก๖ ผัสสายตนะ๖ วิญญาณ ๖ ผัสสะ๖ เป็นแดนเกิดของกรรม และเป็นแดนเกิดของภพ
1630 อินทรีย์ 6 การรู้อินทรีย์ ๖ ของพระโสดาบัน/ การรู้อินทรีย์ ๖ ของพระอรหันต์/ การรู้อินทรีย์ ๖ ของพระพุทธเจ้า
 
7
239 การบำเพ็ญทุกรกิริยา 7 วาระ (ขบฟัน อัดเพดานด้วยลิ้น ข่มจิต บีบคอและศรีษะจนเหงื่อไหลรักแร้ กลั้นลมหายใจ เทวดาขอร้อง)
S14-33 การเป็นอยู่ที่ไม่เสื่อมของภิกษุ 7 ประการ (ย่อแบบที่1)
S14-34 การเป็นอยู่ที่ไม่เสื่อมของภิกษุ 7 ประการ (ย่อแบบที่2)
186 การเป็นอยู่ที่ไม่เสื่อมของภิกษุ 7 ประการ .. ประชุมพร้อมกัน..ไม่บัญญัติเพิ่ม..ไม่พอใจในงานก่อสร้าง ไม่พอใจการพูดคุย คลุกคลีกัน
1323 แก้ง่วง 7 วิธี ตรัสกับพระโมคคัลลานะ (โมคคัลลานสูตร)
1145 แก้ว 7 ประการ (ย่อ) ของพระเจ้าจักรพรรดิ (พาลบัณฑิตสูตร) 1.จักรแก้ว2.ช้างแก้ว3.ม้าแก้ว4.มณีแก้ว5.นางแก้ว6.ขุนคลังแก้ว
1146 แก้ว 7 ประการ ของพระเจ้าจักรพรรดิ (พาลบัณฑิตสูตร) พระสูตรเต็ม พระเจ้าจักรพรรดิ ประกอบด้วยความสัมฤทธิผล ๔ อย่าง
S9-026 แก้ว 7 ประการ ของพระราชาจักรพรรดิ์ จักรแก้ว ช้างแก้ว ม้าแก้ว แก้วมณี นางแก้ว คฤหบดีแก้ว(ขุนพล) ปริณายกแก้ว(ขุนคลัง)
108 คนตกน้ำ 7 จำพวก (จากปุถุชน จนถึง อรหันต์ เรียงลำดับของความอ่อน-แก่ของอินทรีย์)
1041

คุณธรรม 7 ประการ เพื่อความเป็นท้าวสักกะ(พระอินทร์-ดาวดึงส์) เลี้ยงมารดาบิดา อ่อนน้อม พูดอ่อนหวาน ละความตระหนี่

160 ดวงอาทิตย์ ดวงที่ 7 (ในกาลนานไกล ดวงอาทิตย์ดวงที่ 2 3 4 5 6 7 ปรากฏ สังขารทั้งหลายนั้นไม่เที่ยง จึงควรเบื่อหน่าย)
1617 เรา (ตถาคต) เจริญเมตตาจิตตลอด 7 ปี
1617 เรา (ตถาคต) เป็นท้าวมหาพรหมผู้มีอำนาจเต็ม 7 ครั้ง
1617 เรา (ตถาคต) ไม่ได้กลับมายังโลกนี้ตลอด 7 สังวัฏฏวิวัฏฏกัป
357 ทรัพย์ 7 ประการเป็นไฉน ทรัพย์คือ ศรัทธา ศีล หิริ โอตตัปปะ สุตะ จาคะ ปัญญา
653 ทานที่ถึงแล้วในสงฆ์ มี 7 อย่าง ปาฏิปุคคลิกมี 14...ให้ทานแบบเจาะจง อานิสงต่างกัน
1137 ธรรม 7 อย่าง มีอุปการะมาก (พระสารีบุตรแสดงธรรมให้กับภิกษุ ๕๐๐ รูป) - ทสุตตรสูตร
1334 ธรรม มีอย่างละ 7 อย่าง อริยทรัพย์ ๗ อย่าง โพชฌงค์ ๗ อย่าง บริขารของสมาธิ ๗ อย่าง อสัทธรรม ๗ สัทธรรม ๗ สัปปุริสธรรม ๗
1305 ธรรม 7 ประการนี้ภิกษุพึงเป็นผู้พอใจยินดีอย่างแรงกล้า..สมาทานสิกขา ใคร่ครวญธรรม กำจัดความอยาก หลีกเร้น ปรารภความเพียร
1733 ธรรม 7 ประการ ของผู้มักโกรธ (โกธนาสูตร) ผิวพรรณทราม นอนเป็นทุกข์ มีแต่ความฉิบหาย ได้ยศก็เสื่อมยศ ตายไปเข้าถึงอบาย
1127 ธรรมมีประเภทละ 7 (สารีบุตร) อริยทรัพย์ ๗ อย่างโพชฌงค์บริขารของสมาธิ อสัทธรรม สัทธรรม สัปปุริสธรรม นิทเทสวัตถุ สัญญา
782 ธาตุ 7 ประการ สัตตธาตุสูตร.. ว่าด้วยธาตุ ๗ ประการ
706 ธาตุ 7 ประการ สัตติมสูตร อาภาธาตุ สุภาธาตุ อากาสานัญจา วิญญา อากิญ เนวสัญญา สัญญาเวทยิต อาศัยการเกิดตามปฏิจจ
(57 อ น บ ผ พ ภ
610 อนุสัย 7 อนุสัยคือความเคยชิน ที่นอนเนื่องอยู่ในสันดาน กามราคะ‪‎ ปฏิฆะ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา มานะ ภวราคะ อวิชชา
S11-6 นิททสวัตถุ 7 ประการ การถือพรหมจรรย์บริสุทธิ์ของสมณะในธรรมวินัยนี้ ไม่อาจนับจำนวนปีที่ปฏิบัติเหมือนกับลัทธิอื่น
866

บุคคล 7 จำพวก 7 จำพวกเป็นไฉน อุภโตภาควิมุตบุคคล  ปัญญาวิมุต กายสักขี ทิฏปัตต สัทธาวิมุต ธัมมานุสารี สัทธานุสารี

1303 บุคคล 7 จำพวก เป็นนาบุญของโลก (อรหันต์1+อนาคามี6) ผู้แจ้งเจโต-ปัญญาวิมุติ /อันตรา 1-2-3 /อุปหัจจ /อสังขาร/สสังขาร
1304 บุคคล 7 จำพวก นิพพานสูตร เป็นนาบุญของโลก ผู้ควรของคำนับ เป็นผู้ควรกระทำอัญชลี เป็นนาบุญของโลกไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า
1036 บุคคล 7 จำพวก 1.อุภโตภาควิมุต 2.ปัญญาวิมุต 3.กายสักขี 4.ทิฏฐิปัตต 5.สัทธาวิมุต 6.ธัมมานุสารี 7.สัทธานุสารี
1612 ปุริสคติ 7 (ปุริสคติสูตร) อนาคามีบุคคล ในชั้นสุทธาวาส จะปรินิพพานในภพนั้น อุปมาสะเก็ดไฟของช่างตีแผ่นเหล็ก
S4-78 ผู้ที่ถือว่าไม่ได้เป็นสมณะ (7 นัยยะ) (ไม่รู้ขันธ์ห้า-อุปาทานขันธ์-ธาตุสี่-อินทรีย์หก-อินทรีย์ห้า-ไม่รู้ปฏิจจ-ไม่รู้อริยสัจจ์)
1351 ผู้มีธรรม 7 ประการ เป็นนาบุญของโลก 1.รู้จักธรรม 2.รู้จักอรรถ 3.รู้จักตน 4.รู้จักประมาณ 5.รู้จักกาล 6.รู้จักบริษัท 7.เลือกคบคน
S14-40 พระพุทธเจ้า 7 พระองค์ที่ล่วงลับไปแล้ว (วิปัสสี สีขี เวสสภู กกุสันธะ โกนาคมนะ กัสสป โคดม)
314 โพชฌงค์ 7 (๑.สติสัมโพชฌงค์ ๒. ธัมมวิจย - ๓.วิริยะ ๔.ปีติ ๕.ปัสสัทธิ ๖.สมาธิสัมโพชฌงค์ ๗.อุเบกขาสัมโพชฌงค์)
865-2 ไฟ 7 อย่างเหล่านี้มีอยู่ ไฟคือราคะ ไฟคือโทสะ ไฟคือโมหะ คืออาหุไนยะ คือคหบดี คือทักขิไณยะ ไฟที่เกิดจากไม้
1538

ภริยา 7 ประเภท (ภริยาสูตร)วธกาภริยา..ภรรยาเยี่ยงเพชฌฆาต คิดร้าย ...โจรีภริยา ภรรยาเยี่ยงโจร ภรรยาผู้ล้างผลาญทรัพย์สมบัติ

(7) ม ร ว ส ห อ
420 มหาจัตตารีสกสูตร องค์ธรรม 7 ประการ เรียกว่า สัมมาสมาธิของพระอริยะ สัมมาทิฐิ สังกัปปะ วาจา กัมมันตะ อาชีวะ ...
1307 มิตรผู้ประกอบด้วยองค์ 7 ให้ของที่ให้ได้ยาก รับทำกิจที่ทำได้ยาก อดทนถ้อยคำที่อดใจได้ยาก บอกความลับของตนแก่เพื่อน
S14-44 เมถุนสังโยค 7 การประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังเกี่ยวพันด้วยเมถุน (กามสุขัลลิกานุโยค)
859 รัตนะ 7 ประการ ของผู้เป็นจักรพรรดิ์ (พระเจ้ามหาสุทัสสนะ) จักรแก้ว ช้างแก้ว ม้าแก้ว มณีแก้ว นางแก้ว ขุนคลังแก้ว ขุนพลแก้ว
1099 วิญญาณฐิติ 7 และอายตนะ 2 สัตว์มีกายต่างกัน มีสัญญาต่างกัน .... สัตว์มีกายต่างกัน มีสัญญาอย่างเดียวกัน ฯลฯ
1306 วิบัติของอุบาสก 7 ประการ วิปัตติสัมภวสูตร ขาดการเยี่ยมเยียนภิกษุ ละเลยฟังธรรม ไม่ศึกษาอธิศีล ไม่เลื่อมใสภิกษุ ตั้งจิตติเตียน 
720 สติสัมโพชฌงค์ 7 โพชฌงคบรรพ พชฌงค์ ๗ เมื่อสติสัมโพชฌงค์มีอยู่ภายในจิต ย่อมรู้ชัดว่าสติสัมโพชฌงค์มีอยู่
1504 สมาธิ 7 อย่าง ตรัสกับอนุรุทธะ ในกาลนั้นวิมุติของเราไม่กลับกําเริบ ชาตินี้เป็นชาติสุดท้าย บัดนี้ภพเป็นที่เกิดใหม่ไม่มีอีก
1617 เรา (ตถาคต) เป็นท้าวสักกะ ผู้เป็นใหญ่แห่งทวยเทพ 36 ครั้ง
610 สังโยชน์ 7 อนุสัย 7 ความเคยชิน ที่นอนเนื่องอยู่ในสันดาน ๑.กามราคะ ๒.ปฏิฆะ ๓.ทิฏฐิ ๔.วิจิกิจฉา ๕.มานะ ๖.ภวราคะ ๗.อวิชชา
S7-218 สังโยชน์ 7 ๑.กามราคะ ๒.ความโกรธ ๓.ความเห็นผิด ๔.ความลังเลสงสัย ๕.ความสำคัญตน ๖.ความกำหนัดในภพ ๗.อวิชชา
1165 สัญญา 7 ประการ อสุภสัญญา มรณสัญญา อาหาเรปฏิกูลสัญญา สัพพโลเกอนภิรตสัญญา อนิจจสัญญา อนิจเจทุกข ทุกเขอนัตต
825 สัทธรรม 7 ประการ ทำให้เข้าถึงฌานทั้ง 4 ได้ไม่ยาก ได้แก่ ศรัทธา หิริ โอตตัปะ สุตะ ความเพียร สติ ปัญญา
S7-209 สุข 7 วัน 7 คืน -ทรงมีความสุข ยิ่งกว่ามหาราช แม้ 7 วัน 7 คืน.. คือความสุขในวิหารธรรม (อานาปานสติสมาธิ)
S14-32 เหตุแห่งความเสื่อม 7 ประการของภิกษุ
S14-33 เหตุแห่งความเจริญของภิกษุ 7 ประการ (ย่อแบบที่1)
S14-34 เหตุแห่งความเจริญของภิกษุ 7 ประการ (ย่อแบบที่2)
624 อปริหานิยธรรมทั้ง 7 และ อปริหานิยธรรม 6 ข้อปฏิบัติที่มีแต่ความเจริญไม่มีเสื่อม แสดงกับเจ้าวัชชี
1065 อรหันต์ 7 องค์ พระอรหันต์เกิดขึ้นในโลก ๗ องค์..พระพุทธเจ้า โกณทัญญะ วัปปะ ภัททิยะ มหานามะ อัสสชิ ยสกุลบุตร
370 อานิสงส์สูงสุดแห่งอานาปานสติ 7 ประการ.. บรรลุอรหันต์ในปัจจุบัน..บรรลุอรหันต์ในกาลแห่งมรณะ..
S5-129 อีกกาลนานไกลจะมีพระอาทิตย์ขึ้น 7 ดวง น้ำในมหาสมุทรเหลือเท่ารอยตีนโค จะเกิดไฟลุกทั่วทั้งโลกธาตุ จนถึงชั้นพรหมโลก
610 อนุสัย 7 (สังโยชน์ 7) คือ กามราคะ ‪‎ปฏิฆะ ‪‎ทิฏฐิ ‪‎วิจิกิจฉา ‪‎มานะ ‪‎ภวราคะ ‪‎อวิชชา
846 อุปมากาม 7 ข้อ เปรียบเหมือนสุนัขหิว..เหมือนแร้ง..เหมือนหลุมเพลิง..เหมือนบุรุษฝัน..เหมือนบุรุษยืมทรัพย์.. เหมือนป่าใหญ่
 
8
S14-019 ครุธรรม 8 ประการ กฎเข้มของภิกษุณี ห้ามล่วงละเมิด ตลอดชีวิต
S9-012 คู่แห่งบุรุษ 4 คู่ นับเรียงตัวได้ 8 บุรุษ คู่ที่ ๑ โสดาปัตติผล +โสดาปัตติมรรค คู่ที่ ๒ สกทาคามิผล + สกทาคามิมรรค ...
206 ความอัศจรรย์ไม่เคยมีในมหาสมุทร 8 ประการ (อสูรชื่นชม)
1128 ธรรมมีประเภทละ 8 (พระสารีบุตร)มิจฉัตตะ๘ สัมมัตตะ ทักขิเณยยบุคคล กุสีตวัตถุ อารัพภวัตถุ อย่างทานวัตถุ ทานุปบัติ โลกธรรม
1335 ธรรม มีอย่างละ 8 อย่าง มิจฉัตตะ ๘ อย่าง สัมมัตตะ ๘ อย่าง ทักขิเณยยบุคคล ๘ กุสีตวัตถุ ๘ อารัพภวัตถุ ๘ อย่าง...
1332 ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม 8 ประการ ย่อมเป็นที่รัก-ไม่เป็นที่รัก/เป็นที่พอใจ-ไม่พอใจ/เป็นที่เคารพ-ไม่เป็นที่เคารพ/เป็นที่สรรเสริญ
1620 ธรรมที่น่าอัศจรรย 8 ประการ บังเกิดกับ อุคคคฤหบดี.. เมื่อกระผมเห็นพระผู้มีพระภาคเป็นครั้งแรกจิตก็เลื่อมใส เมาสุราอยู่ก็หายเมา
1138 ธรรม 8 อย่าง มีอุปการะมาก (พระสารีบุตรแสดงธรรมให้กับภิกษุ ๕๐๐ รูป) - ทสุตตรสูตร
841 ธรรม 8 อย่าง ที่มีอุปการะมาก มรรค๘ ควรทำให้เจริญ..โลกธรรม๘..กำหนดรู้.. มิจฉัตตะ๘ ควรละ..ปรารภความเพียร๘ ทำให้แจ้ง
1578 บริษัท 8 เป็นไฉน ขัตติยบริษัท พราหมณบริษัท คฤหบดีบริษัท สมณบริษัท จาตุมหาราชิก ดาวดึงส์ มารบริษัท พรหมบริษัท
681 มรรค 8 (ตาราง) สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา กัมมันตะ อาชีวะ วายามะ สัมมาสติ สมาธิ
420 มรรค 8 มหาจัตตารีสกสูตร มรรคแปดสำหรับ อริยะ (อนาสวะ) กับแบบปุถุชน(สาสวะ)
S3-36 มรรค 8 แบบย่อ (ประกอบด้วยศีล สมาธิ ปัญญา)
S6-133 มรรค 8 กับขันธ์ 3 (ตรัสกับนางวิสาขา) ขันธ์ ๓ (กองศีล กองสมาธิ กองปัญญา)
190 มหานรก 8 ขุม (จากวิกีพีเดีย/นรกตื้นสุด สัญชีวนรก อายุ 4.5 ล้าน ปีมนุษย์ นรกลึกสุด อเวจีมหานรก อายุประมาณ1 กัปป์ )
S14-01 มิจฉัตตะ 8 อย่าง สัมมัตตะ 8 อย่าง
(8) ล ว ต ห อ
1031 โลกธรรม 8 (12 นัยยะ) ฤทธิเดชของลาภสักการะ อันตรายทารุณเผ็ดแสบ ต่อการบรรลุพระนิพพาน อันเป็นธรรมเกษมจากโยคะ
S2-62 โลกธรรม 8 (พระพุทธเจ้าทรงตำหนิลาภสักการะ) ลาภ ยศ สักการะ และชื่อเสียง เป็นของทารุณ เผ็ดร้อน หยาบคาย
321 โลกธรรม 8 ( ธรรมดาของโลก เรื่องของโลก ธรรมชาติของโลกที่ครอบงำสัตว์โลก และสัตว์โลกต้องเป็นไปตามธรรมดานี้ )
322 โลกธรรม 8 โลกวิปัตติสูตร (พระสูตรเต็ม..ย่อมเกิดขึ้นแก่ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ ย่อมเกิดขึ้นแม้แก่อริยสาวกผู้ได้สดับ)
850 วิชชา 8 (ญาณ 8) ความรู้ที่ทำให้รู้จักการหลุดพ้น การดับทุกข์
1045 วิชชา 8 (ญาณ 8) โดยละเอียด
1044 ตารางเปรียบเทียบ วิชชา 8 วิชชา 3.. ญาณ 3... ปฏิหาริย์ 3.. อภิญญา 6
506 วิโมกข์ 8  ๑. ผู้ได้รูปฌาน ๒.ไม่มีความสำคัญในรูป ๓. น้อมใจเชื่อกสิณ ๔.บรรลุอากา ๕.วิญญา ๖.อากิญ ๗.เนว ๘.สัญญาเวทยิต
161 เหตุปัจจัย 8 ประการที่ทำให้เกิดแผ่นดินอันใหญ่หลวง (ธาตุไม่สมดุล-1 ผู้มีฤทธิ์-1 พระพุทธเจ้า-6)
226 อริยมรรค มีองค์ 8 (สัมมาทิฏฐิ-สังกัปปะ-วาจา-สัมมากัมมันตะ-สัมมาอาชีวะ-สัมมาวายามะ(ความเพียร)-สัมมาสติ-สัมมาสมาธิ)
277 อภิภายตนะ 8 ประการ (พุทธวจน) พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค
206 ความอัศจรรย์ 8 ประการ ของมหาสมุทร ที่อสูรชื่นชม
920_7 อุโบสถ 8 ประการ ไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ เว้นเมถุน ไม่พูดเท็จ ไม่ดึ่มน้ำเมา ไม่ฉันยามวิกาล ไม่ทัดดอกไม้ ไม่นอนที่สูง
 
9
S8-240_2 9 อาการของจิต เพราะอาศัยตัณหา จึงมี การแสวงหา (ปริเยสนา).. เพราะอาศัยการแสวงหา จึงมี การได้ (ลาโภ)
1076 ความดับไปตามลำดับ 9 ขั้นตอนของสังขาร (อนุปุพพสังขารนิโรธ ) ความดับ9 ขั้นตอนของอวิชชา ( อนุปุพพนิโรธสูตร)
1106 จิตตั้งมั่น-ในสมาธิ 9 ระดับ อนุปุพพนิโรธสูตร 9 ประการ อกุศลย่อมดับในปฐมฌาน..วิตกวิจารของผู้เข้าตติยฌานย่อมดับ
1512 เทวดา 9 จำพวก เข้าเฝ้าฯ เล่าเรื่องสมัยเป็นมนุษย์ว่าได้กระทำอะไรบ้าง จึงส่งผลต่อวิบากกรรม ทำให้เเข้าถึงเทวดาเลว-ปราณีต
1139 ธรรม 9 อย่าง มีอุปการะมาก (พระสารีบุตรแสดงธรรมให้กับภิกษุ ๕๐๐ รูป) - ทสุตตรสูตร
1129 ธรรมมีประเภทละ 9 (โดยพระสารีบุตร) อาฆาตวัตถุ ๙ อาฆาตปฏิวินัย สัตตาวาส อนุปุพพวิหาร อนุปุพพนิโรธ
823 บุคคลผู้ควรกราบไหว้ 9 และ 10 จำพวก อาหุเนยยสูตร (รวม7 พระสูตร) ภิกษุประกอบด้วยธรรม 6 ,6, 8, 8, 10 ประการ
190 บุคคลที่มีเชื้อเหลือ 9 จำพวก (สอุปาทิเสสะ) อนาคามี5+สกทาคามี1+โสดาบัน3
1613 บุคคล 9 จำพวก (แสดงแบบผัง) ที่พ้นแล้วจากอบาย ทุคติ วินิบาต นรก
428 ฌานสูตร สมาธิ 9 ระดับ การสิ้นไปแห่งอาสวะ ๙ อาการของจิต จากตัณหาไปอุปาทาน
S3-30 สงบในสมาธิ 9 ระดับ (รูปสัญญา4 อรูปสัญญา 4 สัญญาเวทยิตนิโรธ)
271 สมาธิ 9 ระดับ ..ฌาน 1 2 3 4 และ อรูปสัญญา อีก 5 ระดับ (ถอดคำพูดจากคลิป)
429 สุขในสมาธิ 9 ระดับ สุขวรรค สุขของปุถุชน กับ สุขของอริยะเจ้า
654 สัตตาวาส 9 ชั้น ที่อยู่ของสัตว์ .. สัตว์ที่ยังไม่หลุดพ้น เมื่อกายแตกทำลาย ต้องกลับมาสู่สัตตาวาสทั้ง 9 เหล่านี้
1189 อนุปุพพวิหารสมาบัติ 9 ประการ..กามย่อมดับในที่ใด..วิตกและวิจารย่อมดับในที่ใด..ปีติย่อมดับในที่ใด.. อุเบกขาและสุขดับที่ใด
S4-45 อาหุเนยยสูตร บุคคล 10 จำพวกนี้ เป็นผู้ควรของคำนับเป็นผู้ควรของต้อนรับ (พระพุทธเจ้า ปัจเจก...โคตรภู)
S4-44 อาหุเนยยสูตร บุคคล 9 จำพวกนี้ เป็นผู้ควรของคำนับเป็นผู้ควรของต้อนรับ (บุรุษบุคคล8 +โคตรภูบุคคล 1)
 
10
102 10 พระสูตรที่สำคัญของพระศาสดา (กำหนดสมาธิทุกถ้อยคำ,อกาลิโก,สอดรับกัน,ห้ามบัญญัติเพิ่ม,ห้ามตัดทอน...)
S12-36 10 แง่มุม ที่เป็นคุณสมบัติของ สัทธานุสารี และ ธัมมานุสารี ว่าเป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน
S3-11 กถาวัตถุ 10 ถ้อยคำที่ควรพูด :เดรัจฉานกถา-ไม่ควรพูด (ไม่ควรพูดเรื่องราชา โจร เรื่องข้าว ดอกไม้ บ้าน นคร เรื่องโลก)
1347 กสิณ 10 (กาลีสูตร) ที่สมณะพราหมณ์ปฏิบัติ พระศาสดา เห็นแล้วว่า มีทั้งบรรลุประโยชน์ เป็นความสงบในใจ
713 กำลังของตถาคต 10 ประการ ย่อมรู้ ฐานะและ รู้เหตุมิใช่ฐานะในโลกนี้ .. รู้วิบากของกรรมที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน
1610 กุศลกรรมบถ 10 อกุศลกรรมบถ 10 (ฉบับหลวง) กรรมส่งผลใน 3 เวลา 1.ปัจจุบัน 2.ในอัตภาพถัดไป 3.ในอัตภาพต่อๆไป
106 กุศลกรรมบถ 10 (กรรมอันเกิดจากการกระทำทางกาย วาจา ใจ)
256 กุศลกรรมบถ 10 และ อกุศลกรรมบถ 10 (ความสะอาดทางกาย ๓ อย่าง ทางวาจา ๔ อย่าง ทางใจ ๓ อย่าง)
771 กุศลกรรมบถ 10 20 30 40 ผู้ถูกทอดทิ้งในนรกนรก และผู้ถูกเชิญมาไว้ในสวรรค์
S4-122 คนธรรพ์ 10 ประเภท (เทวดาที่สถิตย์ในต้นไม้มีกลิ่น 10 ประเภท..ต้นไม้มีกลิ่น ที่ดอก ที่ต้น ที่ใบ ที่ผล ที่เปลือก ที่แก่น...)
205 ทิฏฐิ 10 อย่าง ไม่เป็นไปเพื่อความหน่าย เพื่อคลายกำหนัด เพื่อดับสนิทเพื่อสงบระงับ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อตรัสรู้ เพื่อนิพพาน
1042 เทวดาจากโลกธาตุทั้ง 10 ประชุมกันเพื่อทัศนาพระพุทธเจ้า และภิกษอรหันต์ ๕๐๐ รูป (มหาสมัยสูตร)
S13-19 เทวดา 10 องค์บ้าง 20 องค์ 50 องค์ 60 องค์บ้าง ยืนอยู่แม้ปลายเหล็กแหลม แต่ไม่เบียดกัน
234 ธรรม 10 ประการ เพื่อการเป็นเศษดินปลายฝุ่น ปาณาติปาตสูตร สัตว์ผู้เว้นปาณาติบาตมีน้อย อทินนาทานสูตร ผู้เว้นอทินนาทาน
588 ธรรม 10 ประการ ผู้ประกอบด้วยธรรม 10 ประการที่ควรเสพ และไม่ควรเสพ บุคคลผู้ประกอบด้วยกุศลกรรมบถ 10 ควรเสพ
1567 ธรรม 10 ประการ เป็นอาหารของธรรม ๑๐ ประการ ความขยันหมั่นเพียร เป็นอาหารของโภคสมบัติ.. การฟังเป็นอาหารของปัญญา
1140 ธรรม 10 อย่าง มีอุปการะมาก (พระสารีบุตรแสดงธรรมให้กับภิกษุ ๕๐๐ รูป) - ทสุตตรสูตร
S14-02 ธรรม 10 อย่างที่ ควรกำหนดรู้ และ 10 อย่างที่ควรละ
1130 ธรรมมีประเภทละ 10 (สารีบุตร) นาถกรณธรรม๑๐ กสิณายตนะ๑๐ อกุศลกรรมบถ๑๐ กุศลกรรมบถ๑๐ อริยวาส๑๐ อเสกขธรรม ๑๐
(10) น บ ป พ ภ
S5-123 นรก 10 ขุม (โกกาลิกสูตร) โกกาลิกภิกษุมรณภาพ ได้ไปเกิดในปทุมนรก เพราะคิดอาฆาตพระสารีบุตร และพระโมคคัลลานะ
229 บุคคล 10 จำพวก มิคสาลาสูตร ผู้มีศีลแต่ไม่รู้ชัดเจโต ปัญญาวิมุติ จะไปในทางเสื่อม ส่วนมีศีลรู้เจโต-ปัญญาจะไปทางเจริญ
1061 บุคคล 10 จำพวก ที่ภิกษุไม่ควรไหว้ และบุคคล 3 จำพวกควรไหว้
1119 ปฏิปักษ์ 10 ประการ กัณฏกสูตร สิ่งตรงกันข้ามกัน เช่น การคลุกคลีเป็นปฏิปักษ์ยินดีในที่สงัด เสียงเป็นปฏิปักษ์ต่อปฐมฌาน
1411

ปลงบาป 10 ประการ ตามแบบของอริยสาวก คือ ปลดเปลื้องความไม่สะอาดทางกาย 3 อย่าง ทางวาจา 4 อย่าง ทางใจ 3 อย่าง

S9-031 ผู้สมบูรณ์ด้วย กุศลกรรมบถ10 ย่อมสะอาดทั้งกาย วาจา ใจ แม้จะบำเรอไฟ ก็เป็นคนสะอาด แม้จะไม่บำเรอไฟ ก็เป็นคนสะอาด
601 พุทธทำนาย มนุษย์อายุ 10 ปี จนถึง 80.000 ปี ... เมื่อเมื่อมนุษย์อายุ 8 หมื่นปี พระพุทธเจ้านามว่าพระ เมตไตรย์ จักอุบัติ
S8-252 ภิกษุผู้เถระประกอบด้วยธรรม 10 ประการ
1061 ภิกษุไม่ควรไหว้บุคคล 10 จำพวก และ ควรไหว้บุคคล 3 จำพวก
(10) ม ย ว ส อ
420 มรรค 10 ของ อเสขะ มหาจัตตารีสกสูตร เมื่อมีสัมมาสมาธิ สัมมาญาณะ(๙) จึงพอเหมาะได้ ...สัมมาวิมุตติ(๑๐) จึงพอเหมาะได้
304 มรรค 10 ประการ อาชินสูตร วาทะของผู้เป็นบัณฑิต
229 มิคสาลาสูตร อินทรีย์ บุคคล 10 จำพวก ผู้ได้สดับ กับ ไม่ได้สดับ ได้ไปเกิดในชั้นดุสิตเหมือนกัน แต่ต่างกันหลังทำกาละ
144 มิจฉาทิฏฐิ 10 พระมาลุงกยบุตร ดำริถึงมิจฉาทิฏฐิ ๑๐ (จูฬมาลุงโกยวาทสูตร)
165 ยาถ่ายอันเป็นอริยะ 10 ประการ ให้ผลส่วนเดียวไม่มีไม่ให้ผล อริยวิเรจน (ติกิจฉสูตร)
1025 วินัยสงฆ์ มัชฌิมศีล 10 ประเภท ภิกษุเป็นผู้ถึงพร้อมด้วย จุลศีล 26 ประเภท มัชฌิมศีล 10 ประเภท มหาศีล 149 รวม 185
318 สังโยชน์ 10 (โอรัมภาคิยสังโยชน์ อุทธัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องต่ำ5 เบื้องสูง5 กิเลสเครื่องร้อยรัดจิตใจให้จมในวัฏฏะ)
172 สังโยชน์ 10 โอรัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องต่ำ 5 และ อุทธัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องสูง 5
157 สัญญา 10 ประการ อาพาธสูตร (คิริมานันทสูตร) ว่าด้วยการหาย อาพาธของพระคิริมานนท์
469 สัญญา 10 ประการอาพาธสูตร- คิริมานันทสูตร ว่าด้วยการหายอาพาธ ของพระคิริมานนท์
1219 สิ่งที่เป็นเสี้ยนหนาม 10 อย่าง ต่อภิกษุ ระคนด้วยหมู่ การดูการเล่น เกี่ยวข้องมาตุคาม เสียงเป็นเสี้ยนหนามต่อปฐมฌาน...
388 กุศลกรรมบถ 10 จากความไม่สะอาดทางกาย วาจา ใจ เป็นเหตุให้ทุคติ (นรก กำเนิดเดรัจฉาน เปรตวิสัย) ปรากฏ
S4-45 อาหุเนยยสูตร บุคคล 10 จำพวกนี้ เป็นผู้ควรของคำนับเป็นผู้ควรของต้อนรับ (พระพุทธเจ้า ปัจเจก...โคตรภู)
1026 อำนาจประโยชน์ 10 ประการ แห่งการบัญญัติสิกขาบท เพื่อความรับว่าดีแห่งสงฆ์ เพื่อป้องกันอาสวะจะบังเกิด เพื่อกำจัดอาสวะ
 
11-30
S15-06 ความพินาศ 11 อย่างของภิกษุ (พยสนสูตร)
311 ลักษณะแห่งศรัทธา ของผู้มีศรัทธา 11 ประการ (แบบละเอียด)
197 ลักษณะแห่งศรัทธา ของผู้มีศรัทธา 11 ประการ (เป็นผู้มีศีล มีสุตตะ มีมิตรดี ประกอบด้วยธรรม ไม่เกียจคร้าน...)
1504 เหตุทำที่สมาธิเคลื่อน 11 ประการ ตรัสกับ อนุรุทธ ลักษณะที่เพ่ง เล็งรูปเกินไปแล เกิดขึ้นแล้วแก่เรา
798 อาการสิบสอง 12 ปริวัฏฏ์สาม อริยสัจสี่ .สัจจญาณ กิจจญาณ กตญาณ (ดวงตา ญาณ ปัญญา วิชชา แสงสว่างเกิดขึ้น)
646 ญาณ 3 (12 อาการ) ทรงบรรลุแล้วในปัจฉิมยามแห่งราตรี อวิชชาได้กำจัดแล้ว วิชชาเกิดขึ้นแล้ว สคารวมาณพขอบวช
1349 12 พระสูตร เรื่องความไม่เที่ยงของ รูป เวทนา สัญญา ...ที่ขึ้นต้นด้วย พวกเธอสำคัญความนั้นเป็นไฉน.. รูปเที่ยงหรือไม่เที่ยง?
317 ศรัทธา 12 ประการ การตามรู้ซึ่งความจริง 12 ประการ (ศรัทธา เข้าหา นั่งใกล้ เงี่ยโสต ฟังธรรม ทรงจำ ใคร่ครวญ...)
S1-13 ศรัทธา 12 ประการ (ศรัทธา เข้าหา นั่งใกล้ เงี่ยโสต..แบบย่อ)
1474 อภิธรรมปิฎก 12 เล่ม (หรือ พระไตรปิฎกเล่มที่ 34 - 45 )
653 ทาน ปาฏิปุคคลิกมี 14...ให้ทานแบบเจาะจง อานิสงต่างกัน และ ทานที่ถึงแล้วในสงฆ์ มี ๗ อย่าง
1736 โพชฌงค์ 14 ... ก็ปริยายที่โพชฌงค์ ๗ อาศัยแล้วเป็น ๑๔ อย่าง เป็นไฉน
1118

สิ่งมหัศจรรย์ 14 อย่าง เป็นปาฎิหาริย์ ในการประสูติ ของพระพุทธเจ้าทุกพระองค์ อัจฉริยัพภูตธัมมสูตร

1597 สัตว์ 15 ชนิด ที่พระศาสดาทรงอุปมา เต่า งู จระเข้ นก สุนัข แมลงป่อง ตะขาบ พังพอน แมว โค ม้า ไก่ ราชสีห์ หนู ลิง
1572 ความสงสัยในอนาคต 15 ประการของสัตว์ เมื่อตายจากภพนี้แล้วจักเป็นอะไรหนอ สัตว์นรก เดรัจฉาน..เทวดา สัตว์มีรูป ไม่มีรูป..
718 พราหมณ์ 16 คนเข้าเฝ้าฯ วัตถุกถา สุตตนิบาต ปรายนวรรคที่ ๕ พราหมณ์พาวรี พาศิษย์ ๑๖ คน เข้าเฝ้าฯ เพื่อถามปัญหา
S12-12 วินัยสงฆ์ 16 ข้อ ห้ามภิกษุแสดงธรรมแก่บุคคลเหล่านี้ (จากสิกขาบท 227 ข้อ)
249 วาทะ 16 แบบ (ทิฐิ 16) ของพราหมณ์ปริพาชก ผู้มีลัทธิต่างกัน (กิรสูตรที่ ๒)
883 อุปกิเลส 16 ธรรม อันเป็นเครื่องเศร้าหมองของจิต
S9-41 อุปมาเสาหินยาว 16 ศอก ผู้รู้อริยสัจย่อมไม่หวั่นไหว ดุจเสาหิน แม้ลมฝนจะพัดมาจากทุกทิศ
461 วัตถุสำหรับอธรรมวาที 18 ประการ.... แสดงสิ่งที่ไม่เป็นธรรม ว่าเป็นธรรม แสดงสิ่งที่ไม่เป็นวินัย ว่าเป็นวินัย
657 ธรรมวาที - อธรรมวาที 18 ประการ ให้ภิกษุแสดงสิ่งพระองค์บัญญัติ ว่าบัญญัติ ประพฤติมาว่าประพฤติมา
905 ธาตุ มี 18 อย่าง (พหุธาตุกสูตร ) ภิกษุผู้ฉลาดในธาตุ ธาตุมี 6 อย่าง ธาตุ 3 อย่าง
291 มโนปวิจาร 18 (ผัง)
288 ผังมโนปวิจาร 18 (ความนึกหน่วง) ทางดำเนินของสัตว์ 36 (สัตตบท36) อายะตนภายใน 6 นอก 6 วิญญาณ 6 มโนปวิจาร 18
696 มโนปวิจาร 18 ทิฐิ ๓ อย่างของพราหมณ์ ธรรมที่ไม่อาจถูกติเตียน ผัสสายตนะ๖ มโนปวิจาร๑๘ อริยสัจ๔ ธาตุ ๖
698 มโนปวิจาร 18 สฬายตนวิภังค (มหาจุฬา) ผัง อายตนะใน๖..นอก๖..วิญญาณ๖...ผัสสะ๖.. มโนปวิจาร๑๘.. สัตตบท ๓๖
325 ภิกษุผู้ฉลาดในธาตุ 18 อย่าง (ธาตุ 18 อย่าง ธาตุ 6 อย่าง ธาตุ 3 อย่าง)
421 ฐานที่ตั้งแห่งความมีสัมปชัญญะ 19 ฐาน การยืน เดิน นั่ง นอน อย่างมีสัมปชัญญะ กระทำจิตภายใน ให้เป็นจิตเป็นที่หยุดพัก
S13-9 นับอายุ 20 ปีทั้งอยู่ในครรภ์ จึงอุปสมบท เพราะจิตดวงแรกเกิดแล้วในท้องมารดา
1571 สักกายทิฏฐิ 20 ย่อมเห็นรูป โดยความเป็นตน ย่อมเห็นตนมีรูป ย่อมเห็นรูปในตน ย่อมเห็นตนในรูป.. เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
389 เกวียนบรรทุกเมล็ดงา 20 ขารี ทุก 100 ปี หยิบออก 1 เมล็ด จนหมด ...อุปมาอายุนรก ชั้นตื่นสุดคื อัพพุทนรก
673 เปรต 21 ชนิดพระโมคคัลลานะเห็นเปรต ถูกเพ่งโทษว่าอวดอุตตริ.. ทำอกุศลกรรมอะไรบ้าง จึงเสวยวิบากเช่นนั้น
S5-121 เปรต 21 ประเภท แบ่งตามวินัยและลักขณสังยุตตพระบาลี แบ่งได้ 21 ประเภท
S4-49 พุทธประวัติโดยย่อ 23 เรื่องที่ควรรู้ (คัดย่อจากพุทธประวัติจากพระโอษฐ์)
605 พระพุทธเจ้า- พุทธวงศ์ สายพระพุทธเจ้ามี 25 วงศ์ วงศ์ที่ 1 พระทีปังกรพุทธเจ้า... วงศ์ที่ 25 พระโคตมพุทธเจ้า
1025 วินัยสงฆ์ จุลศีล 26 ภิกษุเป็นผู้ถึงพร้อมด้วย จุลศีล 26 ประเภท มัชฌิมศีล 10 ประเภท มหาศีล 149 ประเภท รวม 185 ประเภท
1240 อนุปุพพิกถา 26 พระสูตร ทั้งพระไตรปิฎก ธรรมเทศนาเป็นลำดับ ฟอกจิตของผู้ฟังให้หมดจดเป็นชั้นๆ รวมผู้ฟังทั้งหมด 200,123 คน
452 จักกวัตติสูตร 26 มีตนเป็นเกาะ มีตนเป็นที่พึ่ง อย่ามีสิ่งอื่นเป็นที่พึ่ง มีธรรมเป็นเกาะมีธรรมเป็นที่พึ่ง อย่ามีสิ่งอื่นเป็นที่พึ่ง
614 ง้วนดิน-กำเนิดสัตว์- โลกธาตุ (คัดย่อจากพระสูตร อัคคัญญสูตร) คัดย่อเป็น 28 หัวข้อ เพื่อความเข้าใจได้ง่ายขึ้น
S9-45 บุคคลที่ได้ชื่อว่า พราหมณ์ 28 นัยยะ
604 พระพุทธเจ้า 28 พระองค์ (อรรถกถา)... (ก่อนพุทธวงศ์ 3 พระองค์ ในพุทธวงศ์ 25 พระองค์)
575 ภิกษุเมืองปาวา 30 รูปฟังธรรมแล้วหลุดพ้น. ติงสมัตตาสูตร สมัยเกิดเป็นโคถูกฆ่าตัดคอ โลหิตที่ไหล มากกว่าน้ำในมหาสมุทร
 
31-100
350 นิพพานมี 32 ชื่อ หลากหลายพระสูตรเรื่องนิพพาน ชื่อเรียกนิพพาน 32 ชื่อ
745 ปุริสลัษณะ 32 ลักขณสูตร คำทำนายมหาปุริสลัษณะ ของพระพุทธเจ้า และเหตุปัจจัยอะไรที่สร้างไว้ จึงทำให้ได้
1245 บุรพกรรม การได้มหาปุริสลักขณะ 32 ประการ ของตถาคต เป็นผู้บากบั่นในกุศล นำสุขมาให้แก่มหาชน เว้นจากปาณาติบาต
S8-261 ปุริสลัษณะ 32 แยกตามอวัยวะ
S7-194 ตถาคต เคยเป็นสักกะจอมเทพถึง 36 ครั้ง ในชั้น อภัสรพรหม สมัยอดีตชาติ
1617 ตถาคต เป็นท้าวสักกะ 36 ครั้ง เจริญเมตตาจิตตลอด 7 ปี (ปุญญวิปากสูตร)
288 (ตาราง) ทางดำเนินของสัตว์ 36 สัตตบท 36 มโนปวิจาร 18 อายตนะภายใน 6 ภายนอก 6 วิญญาณ 6
698 สัตตบท 36 สฬายตนวิภังคสูตร อายตนะภายใน๖..ภายนอก๖..วิญญาณ๖...ผัสสะ๖.. มโนปวิจาร๑๘.. สัตตบท ๓๖ (มีผัง) 
288 สัตตบท 36 ตาราง (ความนึกหน่วง) ทางดำเนินของสัตว์ 36  อายะตนภายใน 6 นอก 6 วิญญาณ 6 มโนปวิจาร 18
805 เวทนา 36 คือทางไปแห่งจิตของสัตว์ 36 อย่าง เนื่องด้วยเหย้าเรือน 18 (เคหสิต) หลีกออกจากเหย้าเรือน 18 (เนกขัมม-สิต)
280 โพธิปักขิยธรรม 37 (ธรรมที่เกื้อกุลต่อการตรัสรู้ :สติปัฏฐาน4 สัมมัปปธาน4 อิทธิบาท4 อินทรีย์5 พละ5 โพชฌงค์7 มรรคมีองค์ 8)
786 พิจารณาขันธ์๕ ด้วยอาการ 40 สาวัตถีนิทานบริบูรณ์ ย่อมเข้าสู่สัมมัตตนิยาม ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นดังหัวฝี
368 กุศลกรรมบถ 40 สรุปย่อพระสูตร กุศลธรรมบถ๑๐ -๔๐ เป็นการมุ่งความเพียรที่เข้มข้นมากขึ้นตามลำดับทั้งเพื่อตนเองและผู้อื่น
771 กุศลกรรมบถ 10 20 30 40 ( ธรรม ๑๐ ๒๐ ๓๐ ๔๐ ประการ ) ผู้ถูกทอดทิ้งในนรกนรก และผู้ถูกเชิญมาไว้ในสวรรค์
116 ญาณวัตถุ 44 (อริยสัจใน 11 อาการของปฏิจจ)
1380 ปิยรูป สาตรูป 60 (สรุปย่อแบบตาราง)
1380 ปิยรูป สาตรูป 60 สิ่งอันเป็นที่รัก-เป็นที่ยินดีในโลก ที่เกิดจากอายตนะภายใน-ภายนอก แบ่งเป็น (หมวดละ ๖ รวม ๑๐ หมวด)
1144 ภิกษุ 60 รูป เลือดพุ่งออกจากปาก คำเตือน เรื่องทุศีล หลังตรัสจบภิกษุ ๖๐ รูป เลือดพุ่งออกจากปาก ๖๐ลาสิกขา ๖๐ จิตหลุดพ้น
1144 ภิกษุ 60 รูป ลาสิกขา(ขอสึก) คำเตือน เรื่องทุศีล หลังตรัสจบภิกษุ ๖๐ รูป เลือดพุ่งออกจากปาก ๖๐รูปลาสิกขา ๖๐รูป จิตหลุดพ้น
1144 ภิกษุ 60 รูป จิตหลุดพ้น คำเตือน เรื่องทุศีล หลังตรัสจบภิกษุ ๖๐ รูป เลือดพุ่งออกจากปาก ๖ รูปลาสิกขา ๖๐รูป จิตหลุดพ้น
1513 ภิกษุ 60 รูป จิตหลุดพ้น  หลังได้ฟัง มหาปุณณมสูตร การละอุปาทานขันธ์ ๕ ที่มีฉันทะเป็นมูล ...ฯลฯ
1439 ภิกษุประมาณ 60 รูป จิตหลุดพ้นแล้วจากอาสวะ หลังฟังพระเทศนา ตามลำดับ (ทวยตานุปัสสนาสูตรที่ ๑๒)
310 อรหันต์เกิดขึ้นในโลก 61 องค์ (อรรถกถา) คือตถาคต๑ ปัญจวัคคีย์๕ พระยศ๑ สหายพระยส๔ สหายคฤหัสถ์พระยส๕๐
201 ทิฏฐิ 62 (อาการจิตของมนุษย์)
140 ทิฏฐิ 62 แบบตาราง
Bio_104 ทิฏฐิ 62 ทรงทราบทิฎฐิวัตถุที่ลึกซึ้ง
733 ทิฏฐิ 62 (กลุ่ม ๑) สัสสตทิฏฐิ : เห็นว่าตัวตน(อัตตา)และโลกเที่ยง เพราะระลึกชาติได้ เป็นแสนชาติ..รวมทั้งเป็นนักเดา(ตริตรึก)
738 ทิฏฐิ 62 (กลุ่ม ๒) สัญญีทิฏฐิ ๑๖ ลัทธเห็นว่าตนทั้ง ๑๖ ประเภทนี้ ตายไปแล้ว ก็มีสัญญาคือ ความจำได้หมายรู้ทั้งสิ้น
743 ทิฏฐิ 62 ฐานะของผู้ถือทิฏฐิ ธรรมบรรยายนี้เรียก อรรถชาละ,ธรรมชาละ,พรหมชาละ,ทิฏฐิชาละ พิชัยสงครามอันยอดเยี่ยม ก็ได้
971 ทิฏฐิ 62 ฉบับ มหาจุฬา ปุพพันตกัปปิกวาทะ ๑๘ และ อปรันตกัปปิกวาทะ ๔๔ (รวมเป็น ทิฏฐิ ๖๒)
309 เอตทัคคะ 74 ท่าน (ผู้ยอดเยี่ยมเป็นพิเศษในด้านต่างๆ ที่พระพุทธเจ้าได้ประทานแต่งตั้งให้กับพระสาวกจำนวน 74 ท่าน)
117 ญาณวัตถุ 77 (เหตุเกิดเหตุดับใน 11 อาการของปฏิจจ ทั้งอดีต -ปัจจุบัน-อนาคต และทั้งหมดนี้มีความสิ้นไปเป็นธรรมดา)
1676 ตลอด 80 พรรษา ที่เราบวช กามสัญญา วิหิงสาสัญญา กามวิตก ไม่เคยเกิดขึ้นแก่เรา พระพักกุละ กล่าวกับ อเจละกัสสป
339 ตาราง...พระพุทธเจ้าในอดีต ย้อนไป 91 กัป (รวม 7 พระองค์ พร้อมชื่อสาวกเบื้องซ้ายเบื้องขวา องค์อุปัฏฐาก ฯลฯ)
901 ย้อนไป 91 กัป พระพุทธเจ้าวิปัสสีจุติจากชั้นดุสิตโลกธาตุนับหมื่นสว่างไสวสะท้านสะเทือน แม้ในที่มึดมิดที่แสงไม่เคยปรากฏ
335 พระพุทธเจ้าในอดีตย้อนไป 91 กัป พระพุทธเจ้าวิปัสสี มีอายุประมาณ ๘๐,๐๐๐ ปี - (มหาปทานสูตร)
808

ให้ทานกับโสดาบัน 100 องค์ ก็สู้ให้กับสกทาคามีไม่ได้... ให้กับสกทาคามี 100 อนาคามี 100 อรหันต์ 100 สร้างกุฏิวิหาร100

430 ผู้ใดมีสิ่งที่รัก 100 ผู้นั้นก็มีทุกข์ 100 ผู้ใดมีสิ่งที่รัก 90 ผู้นั้นก็มีทุกข์ 90 ผู้ใดไม่มีสิ่งที่รัก ผู้นั้นก็ไม่มีทุกข์
 
101-500
638.1 เวทนา 108 แบบตาราง เวทนา ๒ /เวทนา ๓ /เวทนา ๔./ เวทนา ๕. /เวทนา ๖. /เวทนา ๑๘/เวทนา ๓๖ /เวทนา ๑๐๘
638 เวทนา 108 วิภาคแห่งเวทนา.. จำแนกเวทนา.เวทนา 2 อย่าง, เวทนา 3 อย่าง, เวทนา 5 อย่าง, 6 อย่าง,18 อย่าง,36 อย่าง,108 อย่าง
539 เวทนา 108 เวทนาประกอบด้วย เวทนา ๒ /เวทนา ๓ /เวทนา ๔./ เวทนา ๕. /เวทนา ๖. /เวทนา ๑๘/เวทนา ๓๖ /เวทนา ๑๐๘
1025 วินัยสงฆ์ 185 ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ถึงพร้อมด้วย จุลศีล 26 ประเภท มัชฌิมศีล 10 ประเภท มหาศีล 149 ประเภท รวม 185
468 วัชชีปุตตสูตร สิกขาบท 150 ข้อ สิกขาบท 150 ถ้วน ตามที่ปรากฎในพระไตรปิฎกฉบับหลวง และฉบับอื่น
173 พระพุทธเจ้าเว้นขาดจากการทำเดรัจฉานวิชา มี 151 เรื่อง
466 สิกขาบท 227 ข้อ (วินัยของพระ)
467 สิกขาบท 227 (รายละเอียด)
202 ความทุกข์ในมหานรก ยิ่งกว่าถูกแทงด้วยหอกวันละ 300 เล่ม
565 รู้อริยสัจสี่ ยังดีกว่าถูกแทงด้วยหอกวันละ 300 เล่ม เพราะเหตุว่าสังสารวัฏนี้มีเบื้องต้นและที่สุดอันบุคคลไปตามอยู่รู้ไม่ได้แล้ว
1147 จุลศีล มัชฌิมศีล มหาศีล (วินัยสงฆ์) รวม 307 เรื่อง .. พระสมณโคดม ละการฆ่าสัตว์ เว้นจาการฆ่าสัตว์ มีเมตตา เอ็นดูสัตว์
189 ยมโลกียนรก 320 ขุม อยู่รอบ 4 ทิศๆ ละ 10 ของมหานรกแต่ละขุม
666 ยโสชสูตร ภิกษุ 500 รูป ถูกพระองค์ขับไล่หลังส่งเสียงดัง ผ่านไป 1 พรรษา บรรลุธรรมขั้นอาเนญชสมาธิ ทั้งหมด
993 เทวทัตพาภิกษุใหม่ 500 รูป ไปคยาสีสะ พระสารี-พระโมคพากลับ ทำให้โลหิตพุ่งออกจากปากพระเทวทัต มรณะภาพณที่นั้น
1390 ท่านพระนันทกะ (เอตทัคคะ) แสดงธรรมแก่ พระมหาปชาบดี และภิกษุณี 500 รูป (นันทโกวาทสูตร)
618 สุปปิยปริพาชก กับพรหมทัตตมานพ พร้อมด้วยภิกษุ 500 รูป เข้าเฝ้า (พรหมชาลสูตร จุลศีล มัฌิมศีล มหาศีล ติรัจฉานกถา)
1042 มหาสมัยสูตร ประชุมเทวดา เทวดาจากโลกธาตุทั้ง ๑๐ ประชุมกัน เพื่อทัศนาพระผู้มีพระภาค และภิกษอรหันต์ 500 รูป
1121 พระสารีบุตรแสดงธรรมแทนพระพุทธเจ้า กับภิกษุ 500 รูป ที่แคว้นมัลละ เรื่องธรรมที่มีประเภทละ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ..๑๐
1526

พระปัจเจกพุทธเจ้า 500 องค์ เมื่อเข้าสู่ภูเขา อิสิคิลิ แล้วคนเห็น แต่เข้าไปแล้วคนไม่เห็น..จึงพูดกันว่า ภูเขากลืนกินฤาษี

1577 วังพระเจ้าอุเทนถูกไฟใหม้ มเหสีพร้อมอุบาสิกา 500 เสียชีวิต คติของอุบาสิกาเหล่านั้นเป็นอย่างไร ภพหน้าเป็นอย่างไร
457 เรื่องเกวียน 500 เล่ม ผ่านอาฬารดาบสกาลามโคตร แต่ดาบส ไม่ได้ยินเสียง ไม่ได้เห็น ...ช่างอัศจรรย์หนอ
 
More 500
727 ทรงพยากรณ์ ชาวมคธ ที่ทำกาละไปแล้ว จำนวน 640 คน ว่าไปเกิดในภพไหน ชนวสภสูตร
1000 ทรงพยากรณ์ คติและภพเบื้องหน้า ของ ภิกษุ ภิกษุณี อุบากสก อุบาสิกา ผู้ทำกาละไปแล้ว จำนวน 668 คน
1528 ภิกษุ 1,000 รูป จิตหลุดพ้น หลังสดับว่าสิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน คือจักษุ รูป จักษุ วิญญาณ ร้อนเพราะอะไร เพราะราคะโทสะโมหะ
634 เทวดา 10,000 โลกธาตุ มาประชุมกัน โดยรอบ ถึง ๑๒ โยชน์ (๑๙๒ กม.) เพื่อจะเห็นตถาคต
601 พระเมตไตรย : พุทธทำนาย มนุษย์อายุ 10 ปี จนถึง 80,000 ปี เมื่อนั้นเมตไตรย์ จักอุบัติ
339 ตารางพระพุทธเจ้า วิปัสสีอายุ 84,000 สิขี 70000 เวสสภู 60000/กกุสัน-40000 โกนา 30000 กัสสปะ 20000 ตถาคต 100
339 ภาพกราฟิก พระพุทธเจ้าในอดีต ทั้ง 8 พระองค์รวมถึงอนาคต
272

พราหมณ์เวลามะให้ทาน 84,000 ถาดทองรูปิยะ ถาดเงิน ถาดสำริด ให้ช้าง ให้รถ ให้แม่โคนม ให้หญิงสาว ให้บัลลังก์  ให้ผ้า

773 มนุษย์ - เหตุที่ทำให้มนุษย์ จากอายุ 80,000 ปี ลดลงเหลือ 10 ปี
744 มนุษย์ยุคก่อน-พระพุทธเจ้า วิปัสสี ยุคมนุษย์อายุ 80,000 ปี (91กัปที่แล้ว).มีปริสลักษณะ32 ตรง กับพระพุทธเจ้า(โคตม)
S5- 128 ขุนเขาสิเนรุ กว้าง ยาว สูง ด้านละ 84,000 โยชน์ และหยั่งลงใต้สมุทร 84,000 กม หรือด้านละประมาณ 1,344,000 กม.
1628 สมัยตถาคตเป็นขัตติยราช มีทรัพย์มากมาย แต่ละอย่างๆ มีถึง 84,000 (โคมยสูตร)
1240

รวมผู้ฟังธรรม “อนุปุพพิกถา” ฟอกอัธยาศัยของสัตว์ให้หมดจดเป็นชั้นๆ จำนวน 26 พระสูตร ผู้ฟัง 200,123 คน

851 พระเจ้ามฆเทวะ (พระพุทธเจ้าในอดีต) ชาววิเทหะ อายุ 336,000 ปี เป็นกุมาร อุปราช เสวยสมบัติ-ผนวช ช่วงละ 84,000 ปี
1338 อุปมา ความนานของสังสารวัฏที่สัตว์ท่องเที่ยวไป ความยาวนานของกัป... สังสารวัฏนี้ หาเบื้องต้นไม่ได้ เบื้องปลายไม่ได้
   
 
 
 
พุทธวจน : อ่านคำสอนพระศาสดา อ่านแบบสบายตา โดยคัดลอกหนังสือทั้งเล่มมาจัดทำเป็นเว็บเพจ (คลิกอ่านพร้อมดาวน์โหลดไฟล์ pdf)
90 90 90 90  
 
พุทธประวัติ ขุมทรัพย์
อริยสัจ
ภาคต้น
อริยสัจ
ภาคปลาย
ปฏิจจ ปฐมธรรม ตถาคต อนาคามี อินทรีย์
สังวร
สัตว์
สัตตานัง
ทาน
สกทาคามี
ฆราวาส
ชั้นเลิศ
มรรควิธี
ที่ง่าย
 
   
อริยวินัย เดรัจฉานวิชา กรรม สมถะ
วิปัสสนา
โสดาบัน อานา
ปานสติ
จิต มโน
วิญญาณ
ก้าวย่าง
อย่างพุทธะ
ตามรอย
ธรรม
ภพ ภูมิ
พุทธวจน
สาธยาย
ธรรม
สังโยชน์