เว็บไซต์ อนาคามี เผยแพร่คำพระศาสดา เผยแพร่คำสอนตถาคต เว็บไซต์เผยแพร่พระสุตรคำสอนของพระพุทธเจ้า คลิปคำสอน คลิปสาธยายธรรม
  พระสูตร : สุตตะ (คำสอนพระศาสดา)
ค้นหาคำที่ต้องการ    

 
   
   

  พระสูตรชุดเต็ม ชุด 17    
  เรื่องราวของพระพุทธเจ้า วิปัสสี
1701 รวมทุกพระสูตร (1) เกี่ยวกับพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่า วิปัสสี (ย้อนอดีตไป 91 กัป)
1702 รวมทุกพระสูตร (2) เกี่ยวกับพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่า วิปัสสี (ย้อนอดีตไป 91 กัป)
1703 รวมทุกพระสูตร (3) เกี่ยวกับพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่า วิปัสสี (ย้อนอดีตไป 91 กัป)
1704 รวมทุกพระสูตร (4) เกี่ยวกับพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่า วิปัสสี (ย้อนอดีตไป 91 กัป)
1705 รวมทุกพระสูตร (5) เกี่ยวกับพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่า วิปัสสี (ย้อนอดีตไป 91 กัป)
1706 รวมทุกพระสูตร (6) เกี่ยวกับพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่า วิปัสสี (ย้อนอดีตไป 91 กัป)
1707 รวมทุกพระสูตร (7) เกี่ยวกับพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่า วิปัสสี (ย้อนอดีตไป 91 กัป)
1708 เธอทั้งหลายจงเที่ยวไปในโคจร ซึ่งเป็นวิสัย อันสืบมาจากบิดาของตน จักเจริญทั้งด้วยอายุ รรณะ ด้วยสุข ด้วยโภคะ ด้วยพละ
1709 พระผู้มีพระภาคพระนามว่าเมตไตรย์ จะอุบัติขึ้นเมื่อมนุษย์มีอายุ ๘๐,๐๐๐ ปี (เท่ากับอายุมนุษย์ในยุคพระพุทธเจ้าวิปัสสี 91กัป)
1710 ทรงควบคุมวิตกก่อนตรัสรู้ คืออกุศลวิตกและกุศลวิตก.. อกุศลวิตกเป็นไปเพื่อเบียดเบียน เพื่อความคับแค้น ไม่เป็นไปเพื่อนิพพาน
1711 เหตุใดมนุษย์จึงมีอายุถอยลง (เพราะอกุศลเจริญ)... และเหตุใดมนุษย์จึงมีอายุมากขึ้น (เพราะสมาทานในกุศลธรรมทั้งหลาย)
1712 'สัมปสาทนียสูตร' พระสารีบุตรประกาศความเลื่อมใสต่อพระศาสดาทั้งในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต ว่าไม่มีสมณะพราหมณ์อื่นยิ่งกว่า
1713 กรรม ๔ อย่าง กรรมเก่า กรรมใหม่ ความดับแห่งกรรม ปฏิปทาให้ความดับแห่งกรรม (กรรมสูตร)
1714 นรก-สวรรค์ อันเกิดจากผัสสายตนิก ๖ (ขณสูตร) เห็นรูปด้วยจักษุ..รู้สึกไม่น่าใคร่ ไม่น่าพอใจ ไม่น่าปรารถนา นี้เป็นลาภของเธอ
1715 ตถาคตและพระอริยะผู้รู้แจ้งแล้ว ย่อมไม่เป็นผู้มีรูปเป็นที่มายินดี ความเห็นนี้ตรงกันข้ามกับชาวโลกทั้งปวง (ปัคคัยหสูตรที่ ๑)
1716 การพยากรณ์อรหัตตผลในตน (ปริยายสูตร) ราคะ โทสะ โมหะ มีอยู่ในภายใน ก็รู้ว่ามีอยู่.. และไม่มีอยู่ในภายใน ก็รู้ว่าไม่มีอยู่
1717 ถ้อยคำดีของผู้ศรัทธา และถ้อยคำชั่วของผู้ไม่ศรัทธา (ทุกถาสูตร) ถ้อยคำปรารภศรัทธา เป็นถ้อยคำชั่วแก่ผู้ไม่มีศรัทธา
1718 อุปาลีสูตร : ตรัสกับอุบาลีปริพาชก เรื่องการอยู่ป่าของภิกษุ ภิกษุอยู่ป่าผู้เดียวทำได้ยาก จิตจะจมลงหรือฟุ้งซ๋าน
1719 อกุศลธรรมเสื่อมไป เพราะความเจริญขึ้นของกุศลธรรม (นิชชรวัตถุสูตร) ผู้เจริญบริบูรณ์ในความเห็นชอบ ความเห็นผิดย่อมเสื่อมไป
1720 จังกีพราหมณ์ สรรเสริญคุณของพระพุทธเจ้า ทรงมีพระรูปงาม มีพระวรรณะคล้ายพรหม มีศีลเป็นอริยะ มีศีลเป็นกุศล
1721 รวมพระสูตรที่ทรงพยากรณ์บุคคลต่างๆ รวมถึงผู้ทำกาละ ว่าไปอยู่ภูมิไหน มีคติอย่างไร เป็นอริยบุคคลขั้นไหน หรือปรินิพพานไปแล้ว
1722 สาวกสูตร : สาวกผู้ได้สดับ ย่อมมีญาณหยั่งรู้ได้เองโดยไม่ต้องเชื่อผู้อื่น ว่าเมื่อสิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี เพราะสิ่งนี้เกิดขึ้น สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น ...
1723 ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ และความดับลงแห่งกองทุกข์ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้ (จากฉบับหลวง และ 5 เล่มจากพระโอษฐ์)
1724 สุปปพุทธะ เป็นโรคเรื้อนยากไร้ ขัดสน กำพร้า ยากไร้ หลังฟังธรรมได้ทำกาละ ทรงพยากรณ์ว่า เป็นโสดาบัน (สุปปพุทธกุฏฐิสูตร)
1725 สมณะบางพวกไม่ทราบชัดตามความเป็นจริงซึ่งธาตุทั้ง ๔ คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ ย่อมไม่ได้นับว่าเป็นสมณะ
1726 ภิกษุเข้าถึง ปฐมฌาน... จตุตถฌาน นี้เป็นธรรมเครื่องอยู่เป็นสุข ภิกษุเข้าถึง อากาสา..เนวสัญญา นี้เป็นธรรมเครื่องอยู่สงบ
1727 การบรรลุ ฌาณที่ 1 - ฌาณที่ 4 พร้อมอุปมา
1728 การทำสมาธิ มีเคล็ดลับเหมือน แม่โค ปีนภูเขาลาดชัน (คาวีสูตร)
1729 รวมพระสูตร ฟังธรรมก่อนทำกาละ สุปปพุทธะเป็นโสดาบัน..ผัคคุณะเป็นอนาคามี.. พระวักกลิปรินิพพาน..พาหิยะทารุจีริยะเป็นอรหันต์
1730 กามสุขัลลิกานุโยค (เมถุนสังโยค ๗) การประพฤติพรหมจรรย์ไม่บริสุทธิ์ ยังเกี่ยวพันด้วยเมถุน
1731 ทุติยอัคคิสูตร ไฟ (อัคคิ) ๓ ประการ ที่ควรละคือไฟราคะ โทสะ ..ไฟที่ควรสักการะ คือบิดามารดา และกัฏฐัคคิคือไฟที่ควรจุดตามกาล
1732 ทัศนะของภิกษุเป็นอันหมดจดดี ด้วยเหตุเพียงเท่าไรหนอ (กึสุกสูตร)
1733 ธรรม ๗ ประการของผู้มักโกรธ (โกธนาสูตร) ผิวพรรณทราม นอนเป็นทุกข์ มีแต่ความฉิบหาย ได้ยศก็เสื่อมยศ ตายไปเข้าถึงอบายนรก
1734 ภิกษุพึงห้ามจิตเสียจากรูป ที่พึงรู้แจ้งด้วยจักษุ ด้วยมนสิการว่า ทางนั้นมีภัย (วีณาสูตร)
1735 ปริพาชกชัมพุขาทกะ ถามปัญหากับพระสารีบุตร (ชัมพุขาทกสังยุตต์) นิพพานเป็นไฉน ความสิ้นราคะ โทสะ โมหะ นี้เรียกว่านิพพาน
1736 โพชฌงค์ ๑๔ ... ก็ปริยายที่โพชฌงค์ ๗ อาศัยแล้วเป็น ๑๔ อย่าง เป็นไฉน
1737 อานาปานสติ ๑๖ ขั้น (อานาปานัสสติสูตร ว่าด้วยวิธีเจริญอานาปานสติ) พระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่ม ๑๔ สุตตันตะ หน้า ๑๘๓
1738 ท้าวสหัมบดีพรหม ปลดเปลื้องความเห็นผิดแก่นางพราหมณี (พรหมเทวสูตรที่ ๓) ในการบูชาพรหมด้วยก้อนข้าวอยู่เป็นนิตย์
1739 การได้อัตภาพ ๔ ประการ สัญเจตนา (ความจงใจ) ของตน ของผู้อื่น ทั้งของตนเองและของผู้อื่น ของตนก็ไม่ใช่ของผู้อื่นก็ไม่ใช่
1740 นี้มิไช่สมัยนี้มิใช่โอกาส ที่สัตว์จะอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ คือผู้เข้าถึงนรก เดรัจฉาน เปรต อสูรกาย มีมิจฉาทิฐิ เป็นคนโง่ เทพอายุยืน
1741 อวิชชาสูตร อาหารของอวิชชา-วิชชา ก็อะไรเป็นอาหารของอวิชชา นิวรณ์๕.. อะไรเป็นอาหารของวิชชาและวิมุตติ โพชฌงค์ ๗
1772 เมฆิยสูตร : อกุศลวิตก อันลามก ๓ ประการ เกิดแก่พระเมฆิยะ หลังพำนักอยู่ป่าอัมพวันโดยลำพัง
1743 ผัสสะมีเพราะปัจจัยคือ นามรูป การบัญญัติซึ่งหมู่แห่งนามและหมู่แห่งรูป ย่อมมีได้โดยอาศัยอาการ ลิงค์ (เพศ)นิมิต อุเทศ ทั้งหลาย
1744 อริยะบุคคล ตามนัยยะต่างๆ อริยบุคคล 4 จำพวก 8 จำพวก 9 จำพวก สมณะทั้ง 4 อริยบุคคลกับการละเครื่องผูก กับการละสังโยชน์
1745 ความอัศจรรย์ ๔ ประการ ของพระตถาคต ของพระอานนท์ และพระมหาจักรพรรดิ
1746 เรื่องสามเณรในพุทธศาสนามี 5 รูป สามเณรสีหะ, วาเสฏฐ, ภารทวาช, จุนทะ, ราหูล (นอกนั้นเป็นอรรถกถา)
1747 รวมพระสูตร เรื่องอนุสัย ๗ (สังโยชน์๗) คือความเคยชิน คือกิเลสในสันดาน
1748 ฝั่งนอก ๖ ฝั่งใน ๖ ที่พระพุทธเจ้าทรงอุปมา คืออะไร
1749 ปุตตมังสสูตร อาหาร ๔ เพื่อการดำรงอยู่ของสัตว์โลก และผู้แสวงหาที่เกิด(สัมภเวสี)
1750 กายสัญเจตนา วจีสัญเจตนา มโนสัญเจตนา เมื่อกายมีอยู่ สุขและทุกข์ อันเป็นภายใน ย่อมบังเกิดขึ้น เพราะกายสัญเจตนา เป็นเหตุ
1751  
1752  
1753 อารมณ์เพื่อการตั้งอยู่แห่งวิญญาณ 3 นัยยะ คิดถึงสิ่งใด ดำริถึงสิ่งใด... เครื่องนำไปสู่ภพย่อมมี นามรูปย่อมมี ภพใหม่ย่อมมี
1754 จิตที่ดำเนินไปดีแล้ว ย่อมหลุดพ้นจากอาสวะ ๕ ธาตุ ที่ควรพรากออก สลัดออก
1755  
1756  
   
   
   
   
   
   
   
 
   



พุทธวจน : อ่านคำสอนพระศาสดา อ่านแบบสบายตา โดยคัดลอกหนังสือทั้งเล่มมาจัดทำเป็นเว็บเพจ (คลิกอ่านพร้อมดาวน์โหลดไฟล์ pdf)
90 90 90 90  
 
พุทธประวัติ ขุมทรัพย์
อริยสัจ
ภาคต้น
อริยสัจ
ภาคปลาย
ปฏิจจ ปฐมธรรม ตถาคต อนาคามี อินทรีย์
สังวร
สัตว์
สัตตานัง
ทาน
สกทาคามี
ฆราวาส
ชั้นเลิศ
มรรควิธี
ที่ง่าย
 
   
อริยวินัย เดรัจฉานวิชา กรรม สมถะ
วิปัสสนา
โสดาบัน อานา
ปานสติ
จิต มโน
วิญญาณ
ก้าวย่าง
อย่างพุทธะ
ตามรอย
ธรรม
ภพ ภูมิ
พุทธวจน
สาธยาย
ธรรม
สังโยชน์