|
|
|
|
พระสูตรชุดเต็ม ชุด 4 |
|
|
 |
|
|
401 |
สิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน (อาทิตตปริยายสูตร) ตรัสสอนชฎิล 3 พี่น้องและสาวกของชฎิลอีก 1000 รูป หลังขอบวชกับพระศาสดา |
|
402 |
ทรงเทศนาโปรดพระเจ้าพิมพิสาร ทรงแสดง ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค แก่พราหมณ์คหบด ซึ่งมีพระเจ้าพิมพิสาร เป็นประมุข |
|
403 |
พระอัสสชิเถระ แสดงธรรมให้พระสารีบุตร สิ่งใดมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นมีความดับไปเป็นธรรมดา ทำให้ ส.บรรลุธรรม |
|
404 |
สุญญตวรรค สุญญตวิหารธรรม พิจารณาความว่างไปตามลำดับ ไปจนถึงการหลุดพ้น |
|
405 |
เรื่องชฎิล 3 พี่น้อง : ทรงปราบพญานาค และแสดงปาฏิหาริย์จนชฎิลกับสาวกอีก 1000 คนยอมรับและคนขอบวช |
|
406 |
ความเหนียวแน่นของสัสสตทิฏฐิปิด บังการเห็นอริยสัจสี่ ไม่ต่างกับความคิดที่ว่า"ลมก็ไม่พัด แม่น้ำก็ไม่ไหล สตรีมีครรภ์... |
|
407 |
ปฏิจจสมุปบาทมีเมื่อมีการกระทบทางอายตนะ เพราะอาศัยจักษุด้วย รูปทั้งหลายด้วย จึงเกิดจักขุวิญญาณ การประจวบพร้อม.. |
|
408 |
สัสสตทิฏฐิสูตร ว่าด้วยความเห็นว่าโลกเที่ยง อสัสสตทิฏฐิสูตร ว่าด้วยความเห็นว่าโลกไม่เที่ยง |
|
409 |
ว่าด้วยสัทธานุสารี และ ธัมมานุสารีบุคคล (โดยละเอียด) พิจารณาความไม่เที่ยงของขันธ์ 5 |
|
410 |
เรื่องภาระทวาชะ (พระอรหันต์) เหาะขึ้นไปปลดบาตรของเศรษฐี ที่กรุงราชคฤห์ เป็นที่มาที่ทรงห้ามภิกษุแสดงฤทธิ์ |
|
|
|
|
411 |
จูฬเวทัทลสูตรที่ ๔ ตรัสกับนางวิสาขา เรื่องสักกายทิฏฐิ, มรรค ๘ กับขันธ์ ๓, สมาธิและสังขาร, สัญญาเวทยิตนิโรธ ,เวทนา |
|
412 |
เทวทูตสูตร เรื่องนรก : นายนิรยบาล เรื่องเทวทูต พยายม การลงโทษในนรก บรรยากาศในนรก |
|
413 |
เทวสูตร ท้าวสักกะจอมเทพ อดีตเคยเป็นมนุษย์ เป็นผู้สมาทานวัตรบท 7 ประการ จึงได้มาเกิดมาเป็นเทวดาชั้นดาวดึงส์ |
|
414 |
อารัญญกสูตรที่ ๙ ท้าวเวปจิตติจอมอสูร และ ท้าวสักกะ จอมเทวดา เข้าพบฤาษี |
|
415 |
เป็นเรื่องเร่งด่วนที่ต้องเร่งกระทำ อกุศลเกิดต้องรีบดับ ใช้วายามะ อุสสาหะ อุสโสฬ๎หี อัปปฏิวาน..อย่างแรงกล้าเพื่อดับให้ได้ |
|
416 |
ผู้ถูกฉุดรอบด้าน ผู้ไม่ตั้งไว้ซึ่งกายคตาสติ ไม่อบรม.. ตา หู จมูก ลิ้น....ก็จะถูกฉุดให้ไปหาสิ่งที่พอใจ สิ่งที่ไม่น่าพอใจก็จะอึดอีด |
|
417 |
เนื้อนาที่ไม่เกิดบุญ (อุปมาเหมือนช้างศึกที่ฝึกมาดี ย่อมอดทน ไม่หวั่นไหวต่อสิ่งที่มากระทบทางตา หู จมูก ลิ้น กาย... |
|
418 |
ตั้งจิตในกายคตาสติ เสมือนบุรุษผู้ถือหม้อน้ำมัน กายคตาสติอันเราเจริญแล้ว กระทำให้มากแล้ว กระทำให้เป็นดังยาน... |
|
419 |
ภัยในอนาคต ๕ ประการ ที่ต้องเร่งความเพียร ความชรา - ความเจ็บไข้ครอบงำ- ข้าวเสียหาย- โจรป่ากำเริบ- สงฆ์แตกกัน |
|
420 |
มหาจัตตารีสกสูตร (ฉบับหลวง) มรรคแปดสำหรับ อริยะ(อนาสวะ) กับแบบปุถุชน(สาสวะ) |
|
420.1 |
มหาจัตตารีสกสูตร (ฉบับมหาจุฬา) มรรคแปดสำหรับ อริยะ(อนาสวะ) กับแบบปุถุชน(สาสวะ) |
|
|
|
|
421 |
ฐานที่ตั้งแห่งความมีสัมปชัญญะ ๑๙ ฐาน การยืน เดิน นั่ง นอน อย่างมีสัมปชัญญะ กระทำจิตภายใน ให้เป็นจิตเป็นที่หยุดพัก |
|
422 |
สัจจกนิครนถ์ โต้วาทะกับพระพุทธเจ้าจนยอมแพ้ (พระสูตรย่อ) |
|
423 |
สัจจกนิครนถ์(อัคคิเวสสนะ) สนทนากับพระอัสสชิเถระ และได้โต้วาทะพระพุทธเจ้าจนเหงื่อตก (พระสูตรเต็ม) |
|
424 |
หลักที่ควรรู้เกี่ยวกับทุกข์ รู้จักทุกข์ เหตุเกิด ความต่างกัน รู้จักผล รู้จักความดับ รู้จักทางดำเนินให้ถึง ความดับไม่เหลือ |
|
426 |
สัทธรรมปฏิรูปกสูตร เหตุแห่งการบัญญัติสิกขาบทมีมาก สิกขาบทมีน้อย และเหตุปัจจัยที่ทำให้พระสัทธรรมเลือนหายไป |
|
427 |
จินตสูตร สิ่งที่ไม่ควรคิด อย่าคิดเรื่องโลก แต่จงคิดเรื่องอริยสัจ เพราะความคิดนั้น ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ |
|
428 |
ฌานสูตร สมาธิ 9 ระดับ การสิ้นไปแห่งอาสวะ |
|
429 |
สุขในสมาธิ 9 ระดับ สุขวรรค สุขของปุถุชน กับ สุขของอริยะเจ้า |
|
430 |
วิสาขาสูตร เรื่องความรัก ผู้ใดมีสิ่งที่รัก ๑๐๐ ผู้นั้นก็มีทุกข์ ๑๐๐ ผู้ใดไม่มีสิ่งที่รัก ผู้นั้นก็ไม่มีทุกข์
|
|
|
|
|
431 |
อัฏฐานบาลี- โอกาสที่เป็นไม่ได้ (พุทธเจ้าสองพระองค์ จะอุบัติขึ้นพร้อมกันในโลกธาตุเดียวกันนั้น มิใช่ฐานะ มิใช่โอกาส ) |
|
432 |
ผู้มีหลักเสาเขื่อน ผู้มีอินทรีย์สังวร หรือกายคตสติ |
|
433 |
พาหิยะสูตร (1) (กุลบุตรพาหิยทารุจีริยะ) เมื่อใดเธอเห็น รูป แล้ว สักว่าเห็น,ได้ฟังเสียงแล้ว สักว่าฟัง |
|
434 |
พาหิยะสูตร (2) (ภิกษุชื่อพาหิยะ) อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เห็นความไม่เที่ยงอยู่อย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่าย |
|
435 |
พาหิยสูตร (3) (ภิกษุชื่อพาหิยะ) ศีล เป็นเบื้องต้นแห่งกุศลธรรม |
|
436 |
ศีล อยู่เคียงคู่กับปัญญาเสมอ ศีลย่อมชำระปัญญาให้บริสุทธิ์ ปัญญาก็ชำระศีลให้บริสุทธิ์เหมือนกัน ศีลอยู่ที่ใดปัญญาอยู่ที่นั้น |
|
437 |
ศีลเป็นฐานรองรับสติปัฏฐานสี่ โพชฌงค์เจ็ด อริยมรรคมีองค์แปด |
|
438 |
ช้างนาบุญ ภิกษุที่ทนต่อ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส อุปมาเปรียบเหมือนช้างศึก ไม่หวั่นไหวที่เห็นช้างศึก ทนต่อเสียง ทนต่อกลิ่น |
|
439 |
ผู้อยู่ใกล้นิพพาน สมบูรณ์ด้วยศีล เป็นผู้คุ้มครองทวารในอินทรีย์ รู้ประมาณในโภชนะ เป็นผู้ตามประกอบในชาคริยธรรม(ชำระจิต) |
|
440 |
อิณสูตร.. ความเป็นคนจนก็เป็นทุกข์ ของผู้บริโภคกาม การกู้ยืม การใช้ดอกเบี้ย การทวงการติดตาม การจองจำ ก็เป็นทุกข์ |
|
|
|
|
441 |
ภิกษุที่แสดงอธรรมว่าธรรม ย่อมประสบบาป แสดงมิใช่วินัยว่าวินัย ตถาคตมิได้ภาษิตว่าภาษิต มิได้ทรงบัญญัติว่าบัญญัติ |
|
442 |
ผู้อยู่ป่าชนะภัย ๕ อย่าง..ภัยจากงูพิษแมลงป่อง..พลาดตกหกล้ม... มีสิงห์เสือโคร่ง..ภัยจากโจร..ภัยจากมนุษย์และ อมนุษย์
|
|
443 |
ขันธ์ ๕ และอุปาทานขันธ์ ๕ รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง ทั้งที่เป็นอดีต อนาคต หรือปัจจุบันก็ตามเป็นภายในหรือภายนอกก็ตาม... |
|
444 |
ผู้ไม่ประมาทในความตายแท้จริง การเจริญมรณสติ โอ้หนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้เพียงวันหนึ่งคืนหนึ่ง... |
|
445 |
ทรงให้พระราหุล ทำใจเหมือน ดิน น้ำ ไฟ ลม เมื่อกระทบอารมณ์ ที่ชอบใจหรือไม่ชอบใจก็ ก็จะไม่ทำให้จิตใจหวั่นไหวได้ |
|
446 |
บำเพ็ญสมาบัติ ในสำนักอาฬารดาบส ข้าพเจ้าทราบธรรมใด ท่านก็ทราบธรรมนั้น แต่‘ธรรมนี้ไม่เป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย |
|
447 |
บำเพ็ญสมาบัติ ในสำนักอุทกดาบส ข้าพเจ้าทราบธรรมใด ท่านก็ทราบธรรมนั้น แต่‘ธรรมนี้ไม่เป็นไปเพื่อความเบื่อหน่าย |
|
448 |
ทรงห้ามเหยียบแผ่นผ้า และ อนุญาตให้เหยียบผ้าสำหรับเช็ดเท้าที่ล้างแล้ว |
|
449 |
ทรงท้อพระทัยในการแสดงธรรม ..ธรรมนี้เป็นธรรมอันลึก สัตว์อื่นเห็นได้ยาก ยากที่สัตว์อื่นจะรู้ตาม ยากนักที่จะเห็นปฏิจจ |
|
450 |
5 พระสูตรที่สำคัญ หลังทรงตรัสรู้แล้ว และ...ด้วยบุคคลประเภทนี้เอง ที่ทำให้ พระศาสดาแสดงซึ่งธรรมอันวิเศษ |
|
|
|
|
451 |
ปฏิจจสมุปบาท แห่ง มิคสัญญีสัตถันตรกัปป์ ธรรมะของมนุษย์ค่อยๆเสื่อมลงจนถึงยุคมนุษย์อายุ10ปี จนถึงฆ่ากันตลอด7 วัน |
|
452 |
จักกวัตติสูตร (๒๖) มีตนเป็นเกาะ มีตนเป็นที่พึ่ง อย่ามีสิ่งอื่นเป็นที่พึ่ง มีธรรมเป็นเกาะมีธรรมเป็นที่พึ่ง อย่ามีสิ่งอื่นเป็นที่พึ่ง |
|
453 |
อจินไตย ๔ เรื่องที่ไม่ควรคิด คิดแล้วอาจเป้นบ้า..พุทธวิสัยของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ฌานวิสัย วิบากกรรม คิดในเรื่องของโลก |
|
454 |
มารผู้มีบาป เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า พร้อมขอพระองค์จงปรินิพพานในบัดนี้เถิด บัดนี้เป็นเวลาปรินิพพานของพระผู้มีพระภาคแล้ว |
|
455 |
ปัจฉิมคาถา สติปัฏฐาน ๔ สัมมัปปธาน ๔อินทรีย์ ๕ พละ ๕ โภชฌงค์ ๗ มรรคมีองค์ ๘ ศีล สมาธิ ปัญญา วิมุตติ มหาประเทศ ๔ |
|
456 |
ภัตตาหารมื้อสุดท้าย ชื่อ สุกรมัททวะ แล้วทรงพระประชวรอย่างหนัก ถ่ายเป็นเลือด ใกล้จะนิพพาน |
|
457 |
เรื่องเกวียน ๕๐๐ เล่ม ผ่านอาฬารดาบสกาลามโคตร แต่ดาบส ไม่ได้ยินเสียง ไม่ได้เห็น ...ช่างอัศจรรย์หนอ |
|
458 |
ปัจฉิมยามแห่งราตรี และ สาวกองค์สุดท้าย เรื่องราวที่น่าสนใจในราตรีสุดท้ายแห่งการเสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน |
|
459 |
พระผู้มีพระภาคเสด็จปรินิพพาน ลำดับขั้นการเข้าฌานสมาบัติ เกิดแผ่นดินไหว มีท่อน้ำจากอากาศเพื่อดับจิตกาธาร |
|
460 |
มหาสุทัสสนสูตร ... พระเจ้าจักรพรรดิมหาสุทัสสนะ กษัตริย์ผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน มีมหาสมุทร ๔ เป็นขอบเขต มีอาณาจักรมั่นคง. |
|
|
|
|
461 |
วัตถุสำหรับอธรรมวาที ๑๘ ประการ.... แสดงสิ่งที่ไม่เป็นธรรม ว่าเป็นธรรม แสดงสิ่งที่ไม่เป็นวินัย ว่าเป็นวินัย |
|
462 |
มุสาวาทวรรค.. หญิงงาม เปลื้องผ้า ขอเป็นภรรยาพระอนุรุทธะ ... เป็นที่มาการบัญญัติ เรื่องการนอนร่วมกับมาตุคาม |
|
463 |
เรื่องพระอุทายี ขอเสพเมถุนกับหญิงหม้าย เป็นที่มาของบทบัญญัติสิกขาบทแก่ภิกษุ ว่าเป็นอาบัติสังฆาทิเสส (ถูกลงโทษ) |
|
464 |
พระพุทธเจ้า"วิปัสสี" ท้อพระทัยที่จะแสดงธรรม จึงน้อมไปเพื่อความขวนขวายน้อย ท้าวมหาพรหมวิตก ว่าโลกจะฉิบหาย |
|
465 |
มหาประเทศ ๔ อย่าพึงรับรอง อย่าพึงคัดค้าน ฟังจากพระพุทธเจ้า.. ฟังมาจากสงฆ์ในอาวาส-พระเถระ-ประธานสงฆ์ ...
|
|
466 |
สิกขาบท 227 ข้อ (วินัยของพระ) ปาราชิก ๔ ข้อ สังฆาทิเสส ๑๓ ข้อ อนิยตกัณฑ์ ๒ ข้อ นิสสัคคิยปาจิตตีย์ ๓๐ ข้อ ... |
|
467 |
สิกขาบท 227 (รายละเอียด) อาบัติปราชิก ไม่สามารถกลับเข้ามาบวชใหม่ได้เลยตลอดชีวิต |
|
468 |
วัชชีปุตตสูตร สิกขาบท 150 ข้อ สิกขาบท 150 ถ้วน ตามที่ปรากฎในพระไตรปิฎกฉบับหลวง และฉบับอื่น (ตารางเปรียบเทียบ) |
|
469 |
อาพาธสูตร- คิริมานันทสูตร สัญญา 10 ประการ การหายอาพาธ ของพระคิริมานนท์ อานนท์แสดงธรรมสัญญา10ประการ |
|
470 |
ปสาทสูตร ความเลื่อมใสในสิ่งเลิศ ๔ ประการ เลื่อมใสในพระพุทธเจ้า- อริยมรรคมีองค์ ๘- เลื่อมใสในวิราคะ- เลื่อมใสในพระสงฆ์ |
|
|
|
|
471 |
จุลศีล มัชฌิมศีล มหาศีล พระสมณโคดม เว้นขาดจากติรัจฉานกถา เว้นขาดจากรับเงิน รับทอง พูดจาหยาบคาย ฉันท์หนเดียว |
|
472 |
การสังคายนาพระไตรปิฎก ครั้งที่ 1
ณ ถ้ำสุวรรณคูหา พระอุบาลีวิสัชนาพระวินัย พระอานนท์วิสัชนาพระธรรม |
|
473 |
วินีตวัตถุ อุทานคาถา พระวินัยปิฎก เรื่องลิงตัวเมีย เรื่องเปลือยกาย เรื่องเสพเมถุนกับสัตว์ กับมารดา |
|
474 |
กาลามสูตร (เกสปุตตสูตร) อย่ายึดถ้อยคำที่ได้ยินมา อย่ายึดถ้อยคำที่สืบๆกันมา อย่าตื่นข่าวที่ได้ยิน อย่ายึดถือโดยอ้างตำรา
|
|
475 |
ความหมายของปฏิจจสมุปบาท แต่ละอาการ ก็ชรามรณะ เป็นอย่างไรเล่า? ก็ชาติ ก็ภพ.... ก็สังขารทั้งหลาย เป็นอย่างไรเล่า |
|
476 |
ปัจจยาการแม่เพียงอาการเดียว ก็ยังเรียกว่า ปฏิจจสมุปบาท (อิทิป)คือความตั้งอยู่แห่งธรรมดา คือกฎตายตัว....) |
|
477 |
อัสสุตวตาสูตร ๑ บุคคลย่อมเบื่อกายแต่ไม่เบื่อจิต เพราะไม่ได้สดับ.. จิตเหมือนลิงจับกิ่งไม้..จิตดวงหนึ่งเกิดขึ้น ดวงหนึ่งดับไป |
|
478 |
อัสสุตวตาสูตร ๒ ปุถุชนผู้มิได้สดับ รวบรัดถือไว้ด้วยตัณหา ยึดถือด้วยทิฐิว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตัวตนของเรา |
|
479 |
นรก เพราะไม่รู้ ปฏิจจสมุปบาท ร้อนยิ่งกว่านรกไหนหมด เห็นรูปที่ไม่น่าปรารถนาอย่างเดียว ไม่เห็นรูปที่น่าปราถนาเลย |
|
480 |
ปฏิจจ-ที่แสดงว่าไม่มีตัวตน ไม่มีบุคคลที่กลืนกินวิญญาณาหาร ไม่มีบุคคลกระทำผัสสะ มีแต่ธรรมชาติที่เป็นปฏิจจสมุปปันน |
|
|
|
|
481 |
ปฏิจจ-ไม่มีตนเองหรือผู้อื่น ที่ก่อสุข-ทุกข์... นอกจากสำคัญมั่นหมายมาแต่ต้นว่า เวทนานั้นเป็นของตน หรือของบุคคลอื่น |
|
482 |
การรู้ปฏิจจสมุปบาท เป็นหลักการพยากรณ์อรหัตตผล พระศาสดาทดสอบปัญญาของพระสารีบุตร เรื่องปฏิจจสมุปบาท |
|
483 |
อายตนะ คือ จุดตั้งต้นของปฏิจจ-.. เมื่อจักษุมีอยู่ สุขและทุกข์ย่อมเกิดขึ้น เมื่อจักษุไม่มี สุขและทุกข์ก็ไม่เกิดขึ้น |
|
484 |
มหาภูตรูป ๔ ย่อมดับไม่มีเหลือ ในที่ไหนหนอ....เธอมิควรถามอย่างนั้น แต่ควรถามว่า มหาภูตรูปย่อมตั้งอยู่ไม่ได้ในที่ไหน |
|
485 |
วิราคะธรรม : วิราคะ(คลายความกำหนัด) คือธรรมเป็นที่บรรเทาความเมา ตัดซึ่งวัฏฏะ เลิศกว่า สังขตธรรม และ อสังขตธรรม |
|
486 |
ผู้ไม่สำคัญมั่นหมายแล้วไม่เกิดนันทิ ภิกษุใดเป็นพระอรหันต์ ย่อมรู้ยิ่งซึ่งนิพพานโดยความเป็นนิพพาน ย่อมไม่สำคัญมั่นหมาย |
|
487 |
โกกาลิกสูตร ภิกษุชื่อโกกาลิกะ กล่าวตู่พระสารีบุตร และพระโมคคัลลานะ ว่าเป็นผู้มีความปรารถนาลามก จึงไปเกิดในปทุมนรก |
|
488 |
บทสวด อานาปานสติสูตร |
|
489 |
จุนทิสูตร- วิราคะธรรม เลื่อมใสในสิ่งที่เป็นเลิศ 3 ประการ 1.พระพุทธเจ้า 2.วิราคธรรม 3.ในสงฆ์ วิบากอันเลิศย่อมมีแก่ผู้นั้น |
|
490 |
อริยสัจ ๔ โดยละเอียด ๑. ทุกขอริยสัจ๒. ทุกขสมุทยอริยสัจ๓. ทุกขนิโรธอริยสัจ๔. ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ
(พระสูตรนี้มีคำแต่งใหม่ ปะปนกับคำของพระพุทธเจ้า) |
|
|
|
|
491 |
ทุกขอริยสัจฯ แม้ชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ...ก็เป็นทุกข์ ความประจวบ พลัดพราก โดยย่อ อุปาทานขันธ์ทั้ง ๕ เป็นทุกข์ ฯ |
|
492 |
อุปาทาน ๔ ...กามุปาทาน ทิฏฐุปาทาน สีลัพพัตตุปาทาน อัตตวาทุปาทาน
อุปาทาน ๔ เหล่านี้ มีอะไรเป็นต้นเหต... มีตัณหาเป็นต้นเหตุ |
|
493 |
ภูมกสูตร พวกพราหมณ์มีคณโฑน้ำ อาบน้ำทุกเช้าเย็น
บำเรอไฟ ชื่อว่ายังสัตว์ทำกาละแล้ว ให้ขึ้นสวรรค์ได้ |
|
494 |
มหานามสูตรที่ ๑ ตรัสกับมหานามะ (ตระกูลศากยะ) ให้ตั้งอยู่ในธรรม ๕ ประการ แล้วพึงทรงเจริญ ธรรม ๖ ประการให้ยิ่งขึ้นไป |
|
495 |
ท้าวสักกะจอมเทพ ได้ทูลถามปัญหากับพระผู้มีพระภาค เครื่องผูกพันธ์ใจเทวดา มนุษย์ อสูร นาค คนธรรพ์/ความริษยา... |
|
496 |
อัชฌัตติกอนิจจสูตร ..ไม่ที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา รูปที่เป็นอดีต อนาคต ปัจจุบัน ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา |
|
497 |
อตีตสูตร ปัจจุบันสูตร อนาคตสูตร จักษุที่เป็นอดีต-อนาคต-ปัจจุบัน เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา |
|
497_1 |
อตีตสูตร ปัจจุบันสูตร อนาคตสูตร เปรียบเทียบแบบตาราง |
|
498 |
การเข้าไปหาอาฬารดาบส การเข้าไปหาอุทกดาบส |
|
499 |
กายสูตร ธรรมอันบุคคลพึงละด้วยกาย มิใช่ด้วยวาจาเป็นไฉน ก็ความริษยาอันชั่วช้าเป็นไฉน ก็ความปรารถนาอันชั่วช้าเป็นไฉน |
|
500 |
จตุกกนิทเทส -บุคคล ๔ จำพวก เป็นไฉน |
|
|
1 สัตบุรุษ อสัตบุรุษ
1.คนที่เป็น อสัตบุรุษ เป็นไฉน
2.คนที่เป็น อสัตบุรุษยิ่งกว่าอสัตบุรุษ เป็นไฉน
3.คนที่เป็น สัตบุรุษ เป็นไฉน
4.คนที่เป็น สัตบุรุษยิ่งกว่าสัตบุรุษ เป็นไฉน
2 คนดี คนลามก
1. คนลามก เป็นไฉน
2. คนที่ลามกยิ่งกว่าคนลามก เป็นไฉน
3. คนดี เป็นไฉน
4. คนดียิ่งกว่าคนดี เป็นไฉน
3 คนมีธรรมงาม คนมีธรรมอันลามก
1. คนมีธรรมอันลามก
2. คนมีธรรมลามกยิ่งกว่าคนมีธรรมลามก
3. คนมีธรรมงาม
4. คนมีธรรมงามยิ่งกว่าคนมีธรรมงาม
4 คนมีที่ติ คนไม่มีที่ติ
1. คนมีที่ติ เป็นไฉน
2. คนมีที่ติมาก เป็นไฉน
3. คนมีที่ติน้อย เป็นไฉน
4. คนไม่มีที่ติ เป็นไฉน
5 บุคคลผู้บรรลุมรรค ผู้สั่งสมสุตตะ
1. บุคคลผู้อุคฆติตัญญู เป็นไฉน
2. บุคคลผู้วิปัญจิตัญญู เป็นไฉน
3. บุคคลผู้เนยยะ เป็นไฉน
4. บุคคลผู้ปทปรมะ เป็นไฉน
6 บุคคลผู้ตอบโต้ได้ไว ถูกต้อง - ไม่ไว ไม่ถูกต้อง
1. บุคคลผู้โต้ตอบถูกต้องแต่ไม่ว่องไว
2. บุคคลผู้โต้ตอบว่องไวแต่ไม่ถูกต้อง
3. บุคคลผู้โต้ตอบถูกต้องและว่องไว
4. บุคคลผู้โต้ตอบไม่ถูกต้องและไม่ว่องไว
7 บุคคลเปรียบด้วยวลาหก ๔
1. บุคคลเหมือนฟ้าร้องฝนไม่ตก
2. บุคคลเหมือนฝนตกฟ้าไม่ร้อง
3. บุคคลเหมือนฟ้าร้องฝนตก
4. บุคคลเหมือนฟ้าไม่ร้องฝนไม่ตก
8 บุคคลเปรียบด้วยหนู ๔ จำพวก
1.บุคคลทำที่อยู่ แต่ไม่อยู่
2. บุคคลนี้ก็มีอุปไมยฉันนั้นบุคคล เป็นผู้อยู่ แต่ไม่ทำที่อยู่
3. บุคคลเป็นผู้ทำที่อยู่ และอยู่ด้วย
4.บุคคลทั้งไม่ทำที่อยู่ ทั้งไม่อยู่ด้วย
9
บุคคลเปรียบด้วยมะม่วง ๔ ชนิด
1. บุคคลที่เป็นเช่น มะม่วงดิบ แต่มีสีเป็นมะม่วงสุก
2. บุคคลที่เป็นเช่น มะม่วงสุก แต่มีสีเป็นมะม่วงดิบ
3. บุคคลเช่น มะม่วงดิบมีสีก็เป็นมะม่วงดิบ
4. บุคคลเช่น มะม่วงสุก มีสีก็เป็นมะม่วงสุก
10 บุคคลเปรียบด้วยหม้อ ๔ ชนิด
1.บุคคลที่เป็นคนเปล่าปิด เป็นไฉน
2.บุคคลที่เป็นคนเต็มเปิด เป็นไฉน
3.บุคคลที่เป็นคนเปล่าเปิด เป็นไฉน
4.บุคคลที่เป็นคนเต็มปิด เป็นไฉน
11 บุคคลเปรียบด้วยห้วงน้ำ ๔ ชนิด
1. คนตื้นเงาลึก เป็นไฉน
2. คนลึกเงาตื้น เป็นไฉน
3. คนตื้นเงาตื้น เป็นไฉน
4. คนลึกเงาลึก เป็นไฉน
12
บุคคลเปรียบด้วยโคถึก ๔ จำพวก
1. บุคคลดุพวกของตนไม่ดุพวกอื่น
2. บุคคลดุพวกอื่นไม่ดุพวกของตน
3. บุคคลดุทั้งพวกของตน ดุทั้งพวกอื่น
4. บุคคลไม่ดุทั้งพวกของตน ไม่ดุทั้งพวกอื่น
13 บุคคลเปรียบด้วยอสรพิษ ๔ จำพวกเป็นไฉน
1.อสรพิษมีพิษแล่นเร็ว แต่ไม่ร้าย
2.อสรพิษมีพิษร้าย แต่ไม่แล่นเร็ว
3.อสรพิษมีพิษแล่นเร็วด้วย มีพิษร้ายด้วย
4.อสรพิษมีพิษไม่แล่นเร็วด้วย มีพิษไม่ร้ายด้วย
14
1. บุคคลผู้ มืดมามืดไป เป็นไฉน
2. บุคคลผู้ มืดมาสว่างไป เป็นไฉน
3. บุคคลผู้ สว่างมามืดไป เป็นไฉน
4. บุคคลที่ สว่างมาสว่างไป เป็นไฉน
15
1.บุคคล ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ตน ไม่ปฏิบัติเพื่อประโยชน์คนอื่น
2.บุคคล ปฏิบัติเพื่อประโยชน์คนอื่นแต่ไม่ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ตน
3.บุคคลปฏิบัติเพื่อประโยชน์ตนด้วย เพื่อประโยชน์คนอื่นด้วย
4.บุคคลไม่ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ตน ไม่ปฏิบัติเพื่อประโยชน์คนอื่น
16
1.บุคคลไปตามกระแส เป็นไฉน
2.บุคคลไปทวนกระแส เป็นไฉน
3.บุคคลผู้ตั้งตัวได้แล้ว เป็นไฉน
4.บุคคลข้ามถึงฝั่งยืนอยู่บนบก เป็นพราหมณ์ เป็นไฉน
17
1.บุคคลผู้มีสุตะน้อย และไม่ได้ประโยชน์เพราะสุตะ เป็นไฉน
2.บุคคล ผู้มีสุตะน้อย แต่ได้ประโยชน์เพราะสุตะ เป็นไฉน
3.บุคคลผู้มีสุตะมาก แต่ไม่ได้ประโยชน์เพราะสุตะ เป็นไฉน
4.บุคคลผู้มีสุตะมาก และได้ประโยชน์เพราะสุตะ เป็นไฉน
18
1.บุคคลผู้เป็นสมณะไม่หวั่นไหว เป็นไฉน
2.บุคคลผู้เป็นสมณะบัวหลวง เป็นไฉน
3.บุคคลผู้เป็นสมณะบัวขาว เป็นไฉน
4.บุคคลผู้เป็นสมณะสุขุมาล ในหมู่สมณะ เป็นไฉน |
|
|
|
|
|
|