|
|
|
พระสูตรชุดเต็ม ชุด 5 |
|
|
 |
|
501 |
บาป-โลณกสูตร ทำบาปไว้อย่างไร ต้องเสวยกรรมนั้น แม้บาปจะเล็กน้อย ก็นำเขาเข้านรก เพราะไม่อบรม กาย ศีล จิต ปัญญา |
502 |
นาคสูตร อุปมาภิกษุที่หลีกเร้นอยู่ป่าเพื่อละนิวรณ์5 เช่นเดียวกับช้างประเสริฐที่อิดหนาระอาใจกับการกระทำของโขลงช้างด้วยกัน |
503 |
ผู้ประเสริฐของโลก ๖ จำพวก บุคลผู้ประเสริฐของโลก1พระพุทธเจ้า 2พระปัจเจก 3สารีบุตร-พระโมคคัล 4อรหันต์ที่เหลือ |
504 |
อสัตบุรุษ-สัตตบุรุษ เป็นไฉน? เป็นผู้มีความเห็นผิด ดำริผิด เจรจาผิด...ธรรม ๔ ประการของอสัตบุรุษ-สัตบุรุษ |
505 |
|
506 |
วิโมกข์ ๘ ๑. ผู้ได้รูปฌาน ๒.ไม่มีความสำคัญในรูป ๓. น้อมใจเชื่อกสิณ ๔.บรรลุอากา ๕.วิญญา ๖.อากิญ ๗.เนว ๘.สัญญาเวทยิต |
507 |
สุขตวินิโย ระเบียบถ้อยคำของพระสุคต พระสุคตนั้นย่อมทรงแสดงธรรม อันงามในเบื้องต้น และเหตุแห่งความเสื่อมพระสัทธรรม |
508 |
ตัณหาสูตร เงื่อนต้นแห่งภวตัณหา อาหารของภวตัณหา คืออวิชชา อาหารอวิชชา คือนิวรณ์ ๕ อาหารนิวรณ์ ๕ คือ ทุจริต ๓ |
509 |
ผู้สมบูรณ์ด้วยทิฐิ 5 จำพวก (นิฏฐาสูตร) พวก1 เชื่อมั่นในโลกนี้ สัตตกขัตตุ โกลัง เอก.. พวก2 โลกนี้ไปแล้ว อนาคามี 5 จำพวก |
510 |
สุขสูตร สุข ทุกข์ เกิดจากอะไร การเกิดเป็นเหตุให้เกิดทุกข์ การไม่เกิดเป็นเหตุให้เกิดสุข(1) ความไม่ยินดีเป็นเหตุให้เกิดทุกข์ .. |
|
|
511 |
นฬกปานสูตร เรื่องที่พระสารีบุตรเตือนภิกษุ ให้มีศรัทธาในกุศลธรรมทั้งหลาย และพระผู้มีพระภาคตรัสชม |
512 |
กามคุณ ๕ อย่าง.. รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส หาใช่กามไม่ ความกำหนัดไปตามอำนาจความตริตรึกนั่นแหละ คือ กามของคนเรา |
513 |
เปรียบบุคคลด้วยดอกบัว ๓ เหล่า บางเหล่ายังไม่พ้นน้ำจมอยู่ในน้ำ.. บางเหล่าตั้งอยู่เสมอน้ำ.. บางเหล่าตั้งขึ้นพ้นน้ำ น้ำไม่ติด |
514 |
ความฝันครั้งสำคัญ ก่อนตรัสรู้ 1.มหาปฐพีนี้เป็นที่นอนของตถาคต 2.หญ้าคางอกจากสะดือ 3.หนอนสีขาวหัวดำคลานขึ้นมา |
515 |
เหตุเกิดแผ่นดินไหว 1.ธาตุกำเริบ 2.ผู้มีฤทธิ์ 3.ก้าวสู่พระครรภ์ 4.ประสูติ 5.ตรัสรู้ 6.แสดงธรรมจักร 7.ปลงสังขาร 8.ปรินิพพาน |
516 |
เหตุเกิดแสงสว่าง ทั่วทั้งโลกธาตุ มี 3 เหตุการณ์ 1.เนื่องด้วยการประสูติ 2.เนื่องด้วยการตรัสรู้ 3. เนื่องด้วยการแสดงธรรมจักร |
517 |
สงสารนี้กำหนดที่สุดเบื้องต้นเบื้องปลายไม่ได้ อุปมา มารดาของมารดาเรา มากกว่าท่อนไม้ทั้งป่าที่เป็นมัดๆ ละ ๔ นิ้ว วางไว้ |
518 |
ธาตุวิภังค์ 6..แสดงธรรมแก่ ปุกกุสาติ ที่โรงปั้นหม้อโดยไม่รู้ว่าเป็นพระพุทธเจ้า หลังฟังธรรมรู้สึกซาบซึ้ง คิดว่าเป็นพระพุทธเจ้าแน่ |
519 |
ธรรมญาณ อันวยญาณ ธัมมญาณ คือญาณในธรรม - อันวยญาณ คือญาณในการรู้ตาม ญาณคือความรู้ รู้ชัดในอริยสัจสี่ รู้ชัดว่าชรา มรณะ |
520 |
ความสะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน เขาย่อมตามเห็น อยู่เป็นประจำซึ่งรูป โดยความเป็นตนบ้าง ตนมีรูปบ้าง รูปมีในตนบ้าง |
|
|
521 |
กระดองของบรรพชิต เหมือนเต่าหดหัวในกระดองซึ่งปลอดภัย ภิกษุก็ต้องควบคุมทวารอินทรีย์ คือตา หูจมูก ลิ้นกายใจ เช่นกัน |
522 |
ความหวาดสะดุ้งกลัว -คาถาป้องกันภัย ธชัคคสูตรที่ ๓ ภิกษุอยู่ป่า มีภัย ให้นึกถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ |
523 |
อุมิคสาลาสูตรปาทาน-สะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน ไม่สะดุ้งหวาดเสียว เพราะไม่มีอุปาทาน ในความแปรปรวนของ รูป เวทนา .. |
524 |
อินทรีย์ของบุคคล ๑๐ จำพวก มิคสาลาสูตร คนหนึ่งประพฤติพรหมจรรย์ อีกคนหนึ่งไม่ แต่ไปเกิดในชั้นดุสิตเหมือนกัน... |
525 |
วิฬารสูตร ภิกษุพึงสำรวมเมื่อเข้าสู่นิคม เธออาจเห็นมาตุคามนุ่มห่มผ้าลับๆล่อๆ จิตอันราคะรบกวนแล้ว ย่อมเข้าถึงความตาย |
526 |
ศีล-ผลของการไม่มีศีล วิบากของผู้ทุศิล ย่อมเป็นไปเพื่อนรก เป็นไปเพื่อกำเนิดเดรัจฉาน เป็นไปเพื่อเปรตวิสัย |
527 |
จิต-เห็นจิตในจิต - จิตหลุดพ้น จิตมีราคะ ก็รู้ชัดว่าจิตมีราคะ .. เราเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะ ซึ่งจิต หายใจเข้า .. เห็นขันธ์5 ว่าไม่เที่ยง |
528 |
ความไม่มีโรคเป็นลาภอย่างยิ่ง เป็นนิพพานของคนตาบอด |
529 |
นิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง นิพพานเห็นได้ยากยิ่ง พระอุทายี : ดูก่อนสารีบุตร นิพพานนี้ไม่มีเวทนา จะเป็นสุขได้อย่างไร |
530 |
มิจฉาทิฐิ-ความเข้าใจผิดของชาวพุทธในเรื่องต่างๆ การสร้างพระพุทธรูป บทสวดต่างๆเช่น พาหุง ชินบัญชร ยอดพระกัณฑ์ |
|
|
531 |
กรรม - การทำกรรมทางใดมีโทษมากที่สุด กรรมทางใจ(มโนกรรม) มีผลมากที่สุด มีโทษมากที่สุด ตรัสกับปริพาชกถึง 3 ครั้ง |
532 |
อายตนะ- ความเพลินในอายตนะ เท่ากับเพลินอยู่ในทุกข์ ไม่เพลิน เท่ากับไม่ทุกข์ |
533 |
ธรรมที่ควรกำหนดรู้ ควรละ ควรทำให้เจริญ ควรทำให้แจ้ง รู้ขันธ์5 ละอวิชชา- ภวตัณหา เจริญสมถะวิปัสนา แจ้งวิชชาวิมุตติ |
534 |
กรรมเก่า-กรรมใหม่-ความดับแห่งกรรม กรรมเก่า คือตาหูจมูก.. กรรมใหม่คือการกระทำทางกายวาจาใจ ดับกรรมคือมรรค8 |
535 |
ธรรมย่อมไหลไปสู่ธรรม ผู้รู้เห็นตามเป็นจริง ไม่ต้องทำเจตนาว่า ขอเราจงเบื่อหน่ายเถิด. เพราะเห็นเป็นธรรมดา |
536 |
ลักษณะของผู้ไม่ประมาท นัยที่ ๑ และ ๒ สำรวมอินทรีย์ เห็นรูปแล้วจิตไม่ฟุ้งซ่าน ปราโมทย์เกิดปิติเกิด. การเจริญมรณานุสติ |
537 |
รูป-ความหมายของ รูป และ อุปมา : รูปคือ สิ่งที่แตกสลายได้ อุปมาของรูป เหมือนฟองน้ำไม่มีอะไรเลย เมื่อแตกเป็นของว่าง |
538 |
ธาตุ ๔ รายละเอียดของธาตุสี่ 1.ปฐวีธาตุ -ธาตุดิน 2.อาโปธาตุุ-ธาตุน้ำ 3.เตโชธาตุ-ธาตุไฟ 4.วาโยธาตุ-ธาตุลม |
539 |
เวทนา ๑๐๘ : เวทนาประกอบด้วย เวทนา ๒ /เวทนา ๓ /เวทนา ๔./ เวทนา ๕. /เวทนา ๖. /เวทนา ๑๘/เวทนา ๓๖ /เวทนา ๑๐๘ |
540 |
สัญญามี ๖ หมวด สัญญาในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ในธรรม เพราะจำได้หมายรู้ จึงเรียกว่าสัญญา เช่นจำสีเขียว สีเหลือง |
|
|
541 |
อนัตตา-ลักษณะความเป็นอนัตตา รูปเป็นอนัตตา ก็หากว่ารูปนี้จักเป็นอัตตาแล้วไซร้ รูปก็คงไม่เป็นไป เพื่ออาพาธ |
542 |
อวิชชา-วิชชา (ความหมาย 3 นัยยะ) ไม่รู้ในทุกข์ เหตุให้เกิด ความดับ...ไม่รู้ชัด อันมีความเกิดขึ้น-เสื่อมไปเป็นธรรมดา |
543 |
ความเพียรทำได้ในทุกอิริยาบถ แม้เดิน ยืน นั่ง นอน ถ้ากามวิตก พยาบาท-วิหิงสา เกิดขึ้น ก็ไม่รับเอา.. เรียกว่าเป็นผู้มีความเพียร |
544 |
กายคตาสติ- อานิสงส์ของกายคตาสติ (นัยที่ ๑) กุศลธรรมย่อมหยั่งลสู่ใจผู้นั้น มารย่อมไม่ได้ช่อง ย่อมไม่ได้โอกาส |
545 |
กายคตาสติ- อานิสงส์ของกายคตาสติ (นัยที่ ๒) กระทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อได้ปัญญา เพื่อความเจริญแห่งปัญญา |
546 |
อาฬวกสูตรที่ ๑๐ ตรัสสอน อาฬวกยักษ์ หากไม่ตอบ จะควักดวงจิต(ตถาคต)โยนทิ้ง จะจับขว้างไปที่ฝั่งแม่น้ำคงคา |
547 |
ขันธ์ ๕ คือ มาร นัยที่ ๑ - นัยที่ ๒ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณเป็นมาร.. เมื่อรูปมีอยู่ มารจึงมี ผู้ทำให้ตายจึงมี ผู้ตายจึงมี |
548 |
อักโกสกสูตร : โทษของคนทุศีล ศีลวิบัติ ๕ ประการ เสื่อมทรัพย์ ศีลวิบัติย่อมฟุ้งไป ไม่องอาจ ตายไปย่อมเข้าถึง อบาย- นรก |
549 |
สักกายะทิฐิ - รอบรู้ซึ่งสักกายะ และ เหตุเกิดแห่งสักกายทิฏฐิ รอบรู้สักกายสมุทัย นิโรธ นิโรธคามินี...รอบรู้เหตุเกิดสักกายทิฏฐิ |
550 |
ความเพียร -สมัยที่ไม่สมควร และ สมควรความเพียร สมัยที่ไม่ควร: วัยแก่ชรา- อาพาธ- ข้าวแพง - สมัยที่มีภัย- สงฆ์แตกกัน |
|
|
551 |
บุคลล ๔ ประเภท ลักษณะของบุคคลสี่ประเภท :กายออกจิตไม่ออก กายไม่ออกจิตออก กายไม่ออกจิตไม่ออก กายออกจิตออก |
552 |
ความเพียร : สิ้นกิเลสก็แล้วกัน ไม่ต้องรู้ว่าสิ้นไปเท่าไหร่ อุปมาเหมือนด้ามมีดที่สึกไป หรือคั้นเมล็ดงาย่อมได้น้ำมัน |
553 |
กามวิตก อกุศลวิตก กามวิตก -ความตริตรึกในกาม จึงเกิดกามธาตุ กามสัญญา กามสังกัปปะ กามฉันทะ กามปริฬาหะ .. เป็นลูกโซ่ |
554 |
ธรรมมีประเภทละ ๓ อกุศลมูล๓ กุศลมูล๓ ทุจริต๓ สุจริต๓ อกุศลวิตก๓ อกุศลสังกัปปะ๓ กุศลสังกัปปะ๓ อกุศลสัญญา๓.... |
555 |
พระพุทธเจ้าพระนามว่า วิปัสสี ทรงท้อพระทัยที่จะแสดงธรรม แต่ท้าวมหาพรหมขอร้อง ไม่เช่นนั้นโลกจะฉิบหาย |
556 |
สมาธิ ๙ ระดับ : ธรรม ๙ อย่างที่ควรรู้ ควรทำให้แจ้งเป็นไฉน (อนุบุพพวิหาร ๙) สมาธิ 9 ระดับ |
557 |
สุขที่ควรกลัว และไม่ควรกลัว สุขที่ควรกลัว คือสุขที่เกิดจาก ตา หู จมูก ลิ้น กาย สุขที่ไม่ควรกลัว คือ สุขสมาธิ เข้าถึง ปฐมฌาน ทุติยฌาน |
558 |
กาม-ผู้ติดเหยื่อโลก ชอบฟังเรื่องกาม ไม่ฟังเรื่องสงบ. ตาหูจมูกลิ้นกาย เป็นสิ่งที่น่าปราถนา..เขาย่อมไม่ฟังเรื่องความสงบ |
559 |
อริยสัจ-ผู้ไม่รู้อริยสัจ ชื่อว่าตกอยู่ในที่มืด-อยู่ในหลุมเพลิง เพราะเขายินดีต่อสิ่งปรุงแต่งที่เป็นไปเพื่อความเกิดที่สร้างขึ้นเอง |
560 |
อริยสัจ-เปรียบเรียนอริยสัจ กับหนู 4 จำพวก หนูขุดรูแต่ไม่อยู่:เรียนปริยัติแต่ไม่รู้อริยสัจ-หนูไม่ขุดรูแต่อยู่:ไม่เรียนปริยัติแต่รู้อริยสัจ |
|
|
561 |
อริยสัจ หลายนัยยะ เค้าโครงอริยสัจ.. .ปัญจุปาทานขันธ์.. อายตนะ. เรียงลำดับ.. ควรรอบรู้-ควรละ-ควรทำให้เจริญ-ควรทำให้แจ้ง |
562 |
ทรงพยากรณ์เฉพาะเรื่องอริยสัจสี่ . ว่านี้ทุกข์ เหตุเกิดทุกข์ ความดับไม่เหลือ..เรื่องอื่นที่ไม่เป็นไปเพื่อดับทุกข์ ไม่ทรงพยากรณ์ |
563 |
อริยสัจสี่-ทรงบันลือสีหนาท ประกาศจตุราริยสัจ(อริยสัจสี่)พระยาสัตว์ชื่อสีหะ ออกจากถ้ำที่อาศัย สัตว์ทั้งหลายก็สะดุ้งกลัว |
564 |
อริยสัจสี- ผลของการรู้ และไม่รู้อริยสัจสี่ เปรียบซัดท่อนไม้ขึ้นสู่อากาศ..และการดับเร่งดับไฟที่ลุกโพรงบนศรีษะ.. |
565 |
รู้อริยสัจสี่ ยังดีกว่าถูกแทงด้วยหอกวันละ 300 เล่ม เพราะเหตุว่าสังสารวัฏนี้มีเบื้องต้นและที่สุดอันบุคคลไปตามอยู่รู้ไม่ได้แล้ว |
566 |
อริยสัจสี่ - ที่ทรงแสดงโดยพิสดาร ๑. ทุกขอริยสัจ๒. ทุกขสมุทยอริยสัจ๓. ทุกขนิโรธอริยสัจ๔. ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา |
567 |
การเกิดของเวทนา สุข โสมนัสใดๆ เป็นรสอร่อยของเวทนา... เวทนาไม่เที่ยง มีความแปรปรวน เป็นโทษของเวทนา |
568 |
มาคัณฑิยสูตร ความไม่มีโรคเป็นลาภอย่างยิ่ง โรคตถาคตหมายถึงกามคุณ หมือนคนเป็นโรคเรื่อนหรือคนตาบอดที่ถูกหลอก |
569 |
ขันธ์ 5 ที่บัญญัติกฎแห่งสังขตะ กฎแห่งความบังเกิดขึ้นก็ดี กฎแห่งความเสื่อมไปก็ดี.....ถูกบัญญัติอยู่แก่ธรรมเหล่าไหนเล่า? |
570 |
ขันธ์ 5 ไม่เที่ยง มีความแปรปรวน ...รูป เวทนา สัญญา สังขาร เป็น สมุทยธรรม เป็นวยธรรม และเป็นนิโรธธรรม |
|
|
571 |
ขันธ์ 5 เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา รูปเป็นทุกข์.. สิ่งใดเป็นทุกข์สิ่งนั้นเป็นอนัตตา.นั่นไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ตัวตน |
572 |
ขันธ5 เป็นเครื่องผูกพันสัตว์ ย่อมตามเห็นซึ่งรูป โดยความเป็นตน เห็นตนว่ามีรูป เห็นรูปว่ามีอยู่ในตน เห็นตนว่ามีอยู่ในรูป บ้าง |
573 |
ทุกข์ คือกระแสการปรุงแต่งทางจิต ไม่มีผู้กระทำไม่มีผู้ถูกกระทำ ไม่มีทั้งตนเองและผู้อื่นกระทำ แต่เป็นกระแสปฏิจจสมุปปันน |
574 |
เวทนา-วิภาคแห่งเวทนา เวทนา 2อย่าง..เวทนา 3อย่าง..เวทนา 5อย่าง..เวทนา 6อย่าง..เวทนา8 อย่าง..เวทนา 36อย่าง..เวทนา108 อย่าง |
575 |
ติงสมัตตาสูตร ภิกษุเมืองปาวา 30 รูป ฟังธรรมแล้วหลุดพ้น.. สมัยเกิดเป็นโคถูกฆ่าตัดคอ โลหิตที่ไหล มากกว่าน้ำในมหาสมุทรทั้ง4 |
576 |
เวทนา-อัสสาทะของเวทนา.. มีในทุกสมาธิ ฌาน 1-4 เรากล่าวอัสสาทะของเวทนา ไม่ทำความเดือดร้อนแก่ผู้ใด |
577 |
เวทนา-เป็นทางมาแห่งอนุสัย..เมื่อเวทนาถูกต้องแล้ว อนุสัยคือราคะ คือปฏิฆะ คืออวิชชา ย่อมนอนเนื่องอยู่ในสันดาน |
578 |
ทุกข์ เพราะยึดผิด..เห็นผิดซึ่งรูปโดยความเป็นตน เห็นเวทนาสัญญาสังขารว่าเป็นตน..แต่รูปนั้นย่อมแตกสลายย่อมพินาศ ย่อมทุกข์ |
579 |
สุข-ทุกข์ เกิดขึ้น เพราะการมีอยู่ของขันธ์, การประพฤติพรหมจรรย์ ก็เพื่อรอบรู้ทุกข์ ตาเป็นทุกข์ รูปเป็นทุกข์ ... |
580 |
ตัณหา คือความจริงอันประเสริฐ คือเหตุเกิดทุกข์ ความกำหนัดเพราะอำนาจแห่งความเพลิน คือกามตัณหา เปรียบเถาวัลย์ |
|
|
581 |
เวปจิตติสูตรที่ ๔ ชนะความโกรธ ด้วยความอดกลั้น บุคคลผู้ไม่โกรธตอบต่อผู้ที่โกรธ ย่อมชื่อว่าชนะสงครามซึ่งเอาชนะได้ยาก |
582 |
ภาษิตชยสูตรที่ ๕ สงครามวาทะ เทวดา กับอสูร เรื่องการกำจัดคนพาลด้วยความอดกลั้น ใช้ขันติ ทำให้ไม่เกิดการวิวาท |
583 |
สมุททกสูตรที่ ๑๐ ฤาษีไปพบอสูร เพื่อขออภัยทานแต่อสูรไม่ให้บอกให้ได้แต่ภัยเพราะฤาษีคบเทวดา อสูรจึงถูกฤาษีแช่งจนตกใจ |
584 |
ฤาษีมีกลิ่น ท้าวสักกะจอมเทพ และ ท้าวเวปจิตติจอมอสูร เข้าพบฤาษี.. ท้าวสักกะให้เกียรติฤาษี แต่ท้าวเวปจอมอสูรไม่ให้เกียรติ
(พระสูตรนี้เป็นอรรถกถา-เรื่องแต่ง) |
585 |
ภพ-พืชของภพ เหตุเกิด เครื่องจูงไปสู่ความเป็นภพ ฉันทะ ราคะ นันทิ ตัณหาและอุปายะ(กิเลส)นี่เราเรียกว่าเครื่องนำไปสู่ภพ |
586 |
พระมหากัปปินะ (พระอรหันต์) ดำริจะไม่ทำอุโบสถ พระพุทธเจ้ารู้วาระจิต จึงหายตัวมาปรากฎต่อหน้าและให้ไปลงอุโบสถ |
587 |
สวดปาติโมกข์ ในวันอุโบสถ-วิธีทำอุโบสถ 3 อย่าง ภิกษุ ๔ รูป สวดปาติโมกข์ ..๓ รูป ทำปาริสุทธิอุโบสถ (แจ้งความบริสุทธิ์) |
588 |
บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ ที่ควรเสพ และไม่ควรเสพ บุคคลผู้ประกอบด้วยกุศลกรรมบถ ๑๐ ควรเสพ |
589 |
กุศลกรรมบถ10 และ อกุศลกรรมบถ 10 บุคคลผู้ประกอบอกุศลกรรมบถ10 เหมือนผู้ถูกทิ้งไว้ในนรก ถูกนำมาทิ้ง |
|
|
590 |
ขันธ์ 5 - เบญจขันธ์ หลายแง่หลายมุม ขันธ์5 ควรรอบรู้- การบัญญัติขันธ์5- ขันธ์5 กฎแห่งสังขตะ(บังเกิดขึ้น เสื่อม เปลี่ยนแปลง) |
591 |
มหาเวทัลลสูตร การสนทนาธรรม (บทคัดย่อ) ระหว่าง ท่านพระมหาโกฏฐิกะ กับ ท่านพระสารีบุตร |
592 |
ท้าวสักกะ ปลอมตัวเป็นชาวบ้านเพื่อรอตักบาตรกับ พระมหากัสสป |
593 |
ชิณณสูตร พระศาสดาสอบถาม พระมหากัสสป ถึงประโยชน์ของการอยู่ป่าเป็นวัตร |
594 |
เวปุลลปัพพตสูตร ตรัสถึงความไม่เที่ยง โดยยกเอาพระพุทธเจ้าและภูเขาในอดีต ที่สิ้นไปแล้วมาแสดง เพื่อให้เกิดความเบื่อหน่าย |
595 |
ทาน-ชาณุสโสณีสูตร ผลของทานต่อสัตว์เดรัจฉาน.พิจารณาจากกุศลกรรมบถ10 และอกุศลกรรมบถ10.. ทานไม่ส่งผลไปถึงนรก
|
596 |
ทาน-เวลามสูตร ผลของทาน (แบบย่อ) ให้โสดาบัน มีผลมากกว่าให้กับพราหมณ์ ให้สกทาคามี 1 มีผลมากกว่าให้โสดาบัน 100 |
597 |
ทาน-ทักขิณาวิภังคสูตร ปาฏิปุคคลิกมี ๑๔ อย่าง การให้ทานให้กับบุคลลต่างๆ |
598 |
ปัญญา เครื่องเจาะแทงกิเลส (นิพเพธิกปัญญา) คือรู้ อริยสัจสี่ บัณฑิตผู้มีปัญญาย่อมแทงตลอดซึ่งเนื้อความแห่งสัจจะนั้น |
599 |
ธาตุสูตร (นิพพานธาตุ 2 ประการ) สอุปาทิเสส กับ อนุปาทิเสส ความแตกต่างของอรหันต์ 2 ประเภท |
600 |
โลภะ โทสะ โมหะ (อกุศลมูล 3) โลภะ เป็นอกุศลมูล... โทสะ เป็นอกุศลมูล... โมหะ เป็นอกุศลมูล |
|
|
|