เว็บไซต์ อนาคามี เผยแพร่คำพระศาสดา เผยแพร่คำสอนตถาคต พุทธวจน เว็บไซต์เผยแพร่พระสุตรคำสอนของพระพุทธเจ้า คลิปคำสอน คลิปสาธยายธรรม
  พระสูตร : สุตตะ (คำสอนพระศาสดา)
ค้นหาคำที่ต้องการ    

 
   
   

  พระสูตรชุดเต็ม ชุด 9    
901 พระพุทธเจ้าวิปัสสีจุติจากชั้นดุสิต (ย้้อนไป ๙๑ กัป)โลกธาตุนับหมื่นสว่างไสวสะท้านสะเทือน แม้ในที่มึดมิดที่แสงไม่เคยปรากฏ
902 พระวิปัสสีราชกุมาร เสด็จอุทยาน ทรงเห็นคนชรา คนเจ็บ ตนตาย และบรรพชิต จากนั้นทรงตัดสินใจปลงผมและหนวด
903 พระวิปัสสีโพธิสัตว์ผู้เสด็จหลีกออกเร้น พิจารณาความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ (สายเกิด) พิจารณาความดับ ตามสายปฏิจจสมุปบาท
904 อรหันตสัมมาสัมพุทธ  วิปัสสี ตรัสรู้ธรรม ทรงเห็นว่า ธรรมที่บรรลุนี้เป็นธรรม ลึกซึ้ง เห็นได้ยาก รู้ตามได้ยาก รู้ได้เฉพาะบัณฑิต
   
905 พหุธาตุกสูตร ธาตุมี 18 อย่าง ภิกษุผู้ฉลาดในธาตุ ธาตุมี 6 อย่าง ธาตุ 3 อย่าง
906 มหาจัตตารีสกสูตร ภิกษุ (ผู้เป็นอริยะ) รู้จักมิจฉาทิฐิว่ามิจฉาทิฐิ รู้จักสัมมาทิฐิว่าสัมมาทิฐิ ความรู้ของเธอนั้น เป็นสัมมาทิฐิ
907 วาจาของสัตตบุรุษ (การพูดของสัตตบุรุษ) คำพูดของตถาคตวาจาของตถาคต ตถาคตย่อมกล่าวคำจริง แท้ ประกอบประโยชน์
908 สุขในรูปฌานและอรูปฌาน (พหุเวทนิยสูตร) สงัดจากกาม อกุศลธรรม บรรลุปฐมฌาน มีวิตกมีวิจาร มีปีติและสุข เกิดแต่วิเวก
909 ว่าด้วยวิเวก ๓ อย่าง กายวิเวก อยู่ในที่เร้นลับผู้เดียว จิตตวิเวก บรรลุปฐมฌาน จิตสงัดจากนิวรณ์ อุปธิวิเวก ธรรมที่ระงับสังขาร
   
910 เรื่องพระราหุล (จูฬราหุโลวาทสูตร) อุปมา1 เรื่องน้ำน้อยในภาชนะ.. อุปมา2 เรื่องงวงช้าง..
911 เรื่องพระราหุล (จูฬราหุโลวาทสูตร) ชำระกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม กายกรรมนี้เป็นอกุศลมีทุกข์เป็นกำไร มีทุกข์เป็นวิบาก
912 เรื่องพระราหุล (มหาราหุโลวาทสูตร) ดูกรราหุล รูป อย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นอดีต เป็นอนาคต และเป็นปัจจุบัน นั่นไม่ใช่ของเรา
913 เรื่องพระราหุล (มหาราหุโลวาทสูตร) ภาวนาเสมอด้วยธาตุ ๕ การเจริญภาวนาธรรม ๖ อย่าง อานาปานสติภาวนา
   
914 บุคคล ๔ จำพวก (๑) ทำตนให้เดือดร้อน ขวนขวายทำตนให้เดือดร้อน (๒) ทำผู้อื่นให้เดือดร้อน ขวนขวายทำผู้อื่นให้เดือดร้อน...
915 ที่ซึ่งมารและบริวารของมารไปไม่ถึง โดยทำสมาธิ ในทุกระดับ จะทำมารให้ตาบอด คือทำลายจักษุของมาร ให้ไม่เห็นร่องรอย
916 อาสวัฏฐานิยธรรม เมื่อใด จึงบัญญัติสิกขาบท เมื่ออาสวะมีมากในหมู่สงฆ์ ก็จะทรงบัญญัติ เพื่อกำจัดอาสวะเหล่านั้น
917 จาตุมสูตร ภิกษุ ศิษย์พระโมคคัลลานะ และพระสารีบุตร ถูกผู้มีพระภาคประณามว่า ส่งเสียงดังราวกะชาวประมงแย่งปลากัน
918 พระพุทธเจ้าในภัททกัป 5 องค์ กกุสันธะ ยุคมนุษย์ ๔หมื่นปี โกนาคมนะ ๓หมื่น กัสสปะ ๒หมื่น ตถาคต ๑๐๐ เมตไตรย ๘หมื่น
919 โภชนทานสูตร ๕ ประการ (อานิสงส์ในฐานะผู้ให้) ให้อายุ วรรณะ สุข กำลัง ปฏิภาณ ย่อมได้ที่เป็นทิพย์(เทวดา) และของมนุษย์
919 กาลทานสูตร ๕ ประการ (ให้ทานตามกาล) ให้ทานแก่ผู้มาสู่ถิ่นตน ให้ทานแก่ผู้เตรียมจะไป สมัยข้าวแพง ข้าวใหม่ ผลไม้ใหม่
   
920 อริยะวินัย จากพระโอษฐ์ ลาภสักการะ.. อันตรายทารุณเผ็ดแสบ หมือนสุนัขขี้เรื้อน เต่าติดชนัก ปลากลืนเบ็ด ผู้กินคูถ ดูดีสัตว์
920-2 อริยะวินัย จากพระโอษฐ์ ผู้ชี้ขุมทรัพย์..เราจักชี้โทษแล้วชี้โทษอีก ภิกษุนกแก้ว นกขุนทอง ..ผู้รู้ธรรมไม่ทั่วถึง ผู้หล่นจากศาสนา
920-3 อริยะวินัย จากพระโอษฐ์ ไม่รู้ปฏิจจไม่ได้เป็นสมณะ ผู้ตกเหวสมณะผู้ไม่รู้ตามความเป็นจริงในทุกข์ ผู้ที่ควรเข้าใกล้ ผู้มีศีลสมาธิปัญญา
920-4 อริยะวินัย จากพระโอษฐ์ ผู้มีศีลไม่สะสม ไม่ดูการเล่น ไม่ดูการฟ้อน ฟังขับ ฟังนิยาย ฟังเพลง ปรบมือไม่ประดับตกแต่ง ปลุกเสก
920-5 อริยะวินัย จากพระโอษฐ์ เรียกร้องหาศาสดาเพื่อความเป็นศัตรู เรียกร้องหาศาสดาเพื่อความเป็นมิตร สมณสากยปุตติยะที่แท้
920-6 อริยะวินัย จากพระโอษฐ์ เถระดี เถระที่ไม่ต้องระวัง อาเนญชาสมาธิ เนื้อนาบุญของโลก พระโสดาบัน สกทาคามี อนาคามี อรหันต์
920-7 อริยะวินัย จากพระโอษฐ์ เรื่องอื่นๆ
   
921 นิททสวัตถุสูตร ภิกษุเป็นผู้มีความพอใจ ในการสมาทานสิกขา ใคร่ครวญธรรม กำจัดความอยาก หลีกเร้น ปรารภความเพียร มีสติ
922 เรื่องทรัพย์ในความหมายของพุทธศาสนา (รวม ๗ พระสูตร)
923 ติสสสูตร พระโมคคัลลานะสนทนากับพรหมสัสสะ ในญาณหยั่งรู้ของเทวดา ที่ล่วงรู้อุปาทานขันธ์ส่วนที่เหลือ และส่วนที่ไม่เหลือ
924 สีหสูตร พระผู้มีพระภาคตรัสถาม สีหเสนาบดี ผลแห่งทาน ๖ ประการ ที่ประจักษ์ในปัจจุบัน ของคนที่มีใจศรัทธา เป็นทานบดี
   
925 มารผู้มีบาป : ขัดขวางพระผู้มีพระภาค ๑๐พระสูตร มารกลิ้งหิน เข้าไปใกล้พระผู้มีพระภาค มารใช้คาถาบังตาพราหมณ์คหบดี
926 มารผู้มีบาป : มารปลอมตัว เข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาค
927 มารผู้มีบาป : (อรรถกถา) มารธิดา แปลงร่างเป็นมนุษย์ ขอบำเรอพระบาทพระผู้มีพระภาค พระองค์ก็มิได้ทรงใส่พระทัยถึงเลย
928 มารผู้มีบาป : มารรังควานภิกษุณี ให้บังเกิดความกลัว ความหวาดเสียว ความขนพองสยองเกล้า และใคร่จะให้เคลื่อนจากวิเวก
929 มารผู้มีบาป : โต้วาทะกับพระผู้มีพระภาค10 พระสูตร
   
930

คารวสูตรที่ ๒ แรกตรัสรู้ ทรงเห็นว่าไม่มีใครมีศีล สมาธิ ปัญญา วิมุตติ และวิมุตติญาณทัศนะเท่า จึงทรงเคารพในธรรมที่ตรัสรู้

931 เรื่องพระสาคตะ เข้าเตโชธาตุกสิณ บันดาลไฟต้านนาคไว้ได้ ... เหตุการบัญญัติสุรา-เมรัย ที่พระสาคตะดึ่มจนล้มกลิ้งที่ประตูเมือง
932 อายาจนสูตรที่ ๑ สหัมบดีพรหม ขอร้องให้พระผู้มีพระภาคแสดงธรรมหลังการตรัสรู้ บอก โลกจะฉิบหายหนอ โลกจะพินาศหนอ
933 อรหันต์ผู้มีฤทธิ์ ๔ รูป เข้าเตโชธาตุกสิณ ตามพระผู้มีพระภาคขึ้นไปปรากฎในพรหมโลก พระโมค กัสสป กัปปินะ อนุรุทธ
934 พกพรหมมีทิฐิอันชั่วช้า ว่าพรหมยั่งยืนคงที่ ไม่จุติ ไม่อุปบัติ พระผู้มีพระภาคพร้อมอรหันต์ผู้มีฤทธิ์ หายตัวไปนั่งบนหัวพรหม
   
  ธรรม ๔ ประการ บุคคล ๔ จำพวก มีปรากฎในโลก
935 ๑. อนุพุทธสูตร ธรรม ๔ ประการ ศีล สมาธิ ปัญญา วิมุตติ ที่เป็นอริยะ เราได้ตรัสรู้แล้ว ถอนตัณหาได้แล้ว ตัณหาสิ้นไปแล้ว
936 ๒. ปปติตสูตร ผู้ประกอบด้วย และผู้ไม่ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ คือ ศีล สมาธิ ปัญญา วิมุตติ เรียกว่าผู้ตกไปจากธรรมวินัยนี้
937 ๓. ขตสูตรที่ ๑ ธรรม ๔ ประการ ไม่ใคร่ครวญสืบสวนให้รอบคอบแล้วกล่าวสรรเสริญคุณของผู้ไม่ควร สรรเสริญ
938 ๔. ขตสูตรที่ ๒ ผู้ปฏิบัติชอบใน บุคคล ๔ จำพวก ถือเป็นบัณฑิต เป็นสัตบุรุษ คือปฏิบัติต่อ มารดา บิดา ตถาคต สาวกตถาคต
939 ๕. อนุโสตสูตร บุคคล ๔ จำพวก มีปรากฏอยู่ในโลก ผู้ไปตามกระแส ผู้ไปทวนกระแส ผู้มีตนตั้งอยู่แล้ว ผู้เป็นพราหมณ์ข้ามถึงฝั่ง
940 ๖. อัปปสุตสูตร บุคคล ๔ จำพวก มีสุตะน้อยไม่เข้าถึงสุตะ ผู้มีสุตะน้อยเข้าถึงสุตะ ..สุตะมากไม่เข้าถึงสุตะ..สุตะมากเข้าถึงสุตะ
941 ๗. สังฆโสภณสูตร : บุคคลผู้ยังหมู่ให้งามคือภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาที่เฉียบแหลม ผู้แกล้วกล้า เป็นพหูสูต เป็นผู้ทรงธรรม
942 ๘. เวสารัชชสูตร พรหมจักรเวสา รัชชญาณ มี ๔ ประการ ธรรมของตถาคตไม่มีใครคัดง้างได้ ไม่ว่าจะเป็น สมณะ มาร พรหม ..
943 ๙. ตัณหาสูตร ตัณหา ๔ ประการ ตัณหาเกิดแก่ที่ใด ที่นั้นให้ชื่อว่าเป็นที่เกิดแห่งตัณหา ผู้มีตัณหาเป็นเพื่อนสองไม่ล่วงพ้นสงสาร
944 ๑๐. โยคสูตร โยคะ ๔ ประการ คือ กามโยคะ,ภวโยคะ,ทิฏฐิโยคะ,อวิชชาโยคะ.. ผู้พรากจาก อกุศลธรรม เรียกว่าผู้เกษมจากโยคะ
945

สันโดษ ตามมีตามได้-อริยวงศ์ ๔ อย่าง สันโดษด้วยจีวร ด้วยบิณฑบาต ด้วยเสนาสนะตามมีตามได้ เป็นผู้มีปหานะ - ฉันท์วันละหน

   
946 มหานิทานสูตร (๑๕) อานนท์ เธออย่าพูดอย่างนั้น อานนท์ ปฏิจจสมุบาทนี้ ลึกซึ้งสุดประมาณและปรากฏเป็นของลึก
947 มหานิทานสูตร (๑๕) เหตุเกิด-เหตุดับ ของอกุศลธรรมอันชั่วช้าลามก อาศัยตัณหา
948 มหานิทานสูตร (๑๕) สมุทัย ปัจจัย แห่งเวทนา แห่งผัสสะ แห่งนามรูป, นามกาย รูปกาย นามรูป
949 มหานิทานสูตร (๑๕) อัตตา (ความถือว่าตัวตน) บุคคลเมื่อไม่บัญญัติอัตตา
950 มหานิทานสูตร (๑๕) วิญญาณฐิติ ๗, อายตนะ ๒, วิโมกข์ ๘ : อายตนะ ๒ คือ อสัญญีสัตตายตนะ เนวสัญญานาสัญญายตนะ
   
951 ปาฏิกสูตร (๒๔) ธรรมที่เราได้แสดงไว้ ย่อมนำผู้ประพฤติ ให้สิ้นทุกข์โดยชอบ เช่นนี้ แล้วเธอจะปรารถนาอิทธิปาฏิหาริย์ไปทำไม
952 ความหวงแหน ความตระหนี่ ความมุ่งจะเอา ก็เรียกว่าความตระหนี่ ... ความระแวง เพราะวัตถุถูกแย่งชิง ย่อมศร้าโศก
953 ทรงขยายความปฏิจจ-อย่างประหลาด ผัสสะมี เพราะปัจจัยคือนามรูป,หมู่แห่งนาม ย่อมมีได้โดยอาศัยอาการ ลิงค์ นิมิต อุเทศ
954 ธาตุ ๓ อย่าง เป็นที่ตั้งแห่ง ปฏิจจ.. กามธาตเป็นเหตุให้เกิดกามภพ.. รูปธาตุเป็นเหตุให้เกิดรูปภพ.. อรูปธาตุเป็นเหตุให้เกิดอรูปภพ
955 วิเวก ๓ กายวิเวก จิตตวิเวก อุปธิวิเวก
956 กาม ๒ อย่าง วัตถุกาม (วัตถุอันเป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด) รูป เสียง กลิ่น รส กิเลสกาม(ความดำริในกาม) ความพอใจ ความกำหนัด
   
957

มหานิทเทส (1) ขยายความคำสอนตถาคต (เชื่อว่าเป็นผลงานของพระสารีบุตร)

 

(1) ว่าด้วยกาม ๒ อย่าง : วัตถุกามเป็นไฉน กิเลสกามเป็นไฉน
(2) ผู้ปราถนากามเปรียบเหมือนถูกแทงด้วยลูกศร : เมื่อใคร่ อยากได้ ยินดี ปรารถนา มุ่งหมาย ชอบใจ
(3) กามเสื่อมไปได้อย่างไร : เสื่อม เสียหาย กระจัดกระจาย รั่วไหล อันตรธาน
(4) ว่าด้วยการเว้นขาดกามด้วยเหตุ ๒ ประการ โดยการข่มไว้ เช่นเจริญกายคตาสติ ..โดยการตัดขาด ปฏิบัติเพื่อความเป็นอริยบุคคล
(5) ว่าด้วยทาส ๔ จำพวก ทาสที่เกิดภายใน ทาสที่ซื้อมาด้วยทรัพย์ ผู้สมัครเข้าถึงความเป็นทาสเอง เชลยผู้เข้าถึงความเป็นทาส
(6) ว่าด้วยอันตราย ๒ อย่าง อันตรายที่ปรากฏคือ ราชสีห์ โจร คนที่ทำกรรมชั่ว... อันตรายที่ปกปิดคือ กายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต
(7) ว่าด้วยผู้มีสติทุกเมื่อ ผู้ที่เจริญสติปัฏฐาน ๔
(8) การละขาดจากกาม ๒ อย่าง
(9) ว่าด้วยนรชนเป็นผู้ข้องอยู่ในถ้ำคือกาย

958

มหานิทเทส (2) ขยายความคำสอนตถาคต (เชื่อว่าเป็นผลงานของพระสารีบุตร)

  (1) ว่าด้วยวิเวก ๓ อย่าง
(2) ว่าด้วยกาม ๒ อย่าง
(3) ว่าด้วยกาม ๒ อย่าง
(4) ว่าด้วยตระหนี่ ๕ ประการ
(5) ความสงสัยในอนาคต ๑๕ ประการ
(6) ว่าด้วยสิกขา ๓
(7) ชีวิตน้อยด้วยเหตุ ๒ ประการ
(8) ชีวิตน้อยเพราะตั้งอยู่น้อยอย่างนี้
(9) ว่าด้วยปัญญาที่เรียกว่าธี
(10) สัตว์ดิ้นรนอยู่ในโลกเพราะตัณหา
(11) ว่าด้วยภพน้อยภพใหญ่
(12) ว่าด้วยความยึดถือ ๒ อย่าง
(13) ว่าด้วยภพน้อยภพใหญ่
959

มหานิทเทส (3) ขยายความคำสอนตถาคต (เชื่อว่าเป็นผลงานของพระสารีบุตร)

  (1) ว่าด้วยความยึดถือ ๒ อย่าง
(2) ว่าด้วยผัสสะต่างๆ
(3) ว่าด้วยปริญญา ๓ ประการ
(4) ว่าด้วยเดียรถีย์กับมุนี
(5) ว่าด้วยกิเลสเครื่องตรึงจิต ๓
(6) ว่าด้วยทิฏฐิ
(7) ว่าด้วยศีลและวัตร
(8) ผู้ได้ชื่อว่าภิกษุ
(9) ว่าด้วยผู้มีอริยธรรม
(10) ว่าด้วยทิฏฐิธรรม
(11) ว่าด้วยสันติ ๓
(12) ว่าด้วยการถือมั่น
960

มหานิทเทส (4) ขยายความคำสอนตถาคต (เชื่อว่าเป็นผลงานของพระสารีบุตร)

  (1) ว่าด้วยผู้มีปัญญา
(2) เพราะเหตุไร ปัญญาจึงเรียกว่าโธนา
(3) ว่าด้วยมารยาและมานะ
(4) ว่าด้วยกิเลสเครื่องเข้าถึง ๒ อย่าง
(5) ว่าด้วยทิฏฐิ
(6) ว่าด้วยผู้พิจารณาเห็นความหมดจด
(7) ว่าด้วยความหมดจดเป็นต้น
(8) ว่าด้วยการเชื่อถือว่าเป็นมงคล ไม่เป็นมงคล
(9) ว่าด้วยความหมดจดด้วยศีลและวัตร
(10) ว่าด้วยการละบุญบาป
(11) ว่าด้วยการละตน
(12) ว่าด้วยการจับๆ วางๆ พ้นกิเลสไม่ได้
(13) ว่าด้วยการดำเนินผิดๆ ถูกๆ
(14) ผู้รู้ธรรม ๗ ประการ
961

มหานิทเทส (5) ขยายความคำสอนตถาคต (เชื่อว่าเป็นผลงานของพระสารีบุตร)

  (1) ว่าด้วยมารเสนา
(2) ว่าด้วยคุณลักษณะของสัตบุรุษ
(3) ว่าด้วยพระอรหันต์
(4) ว่าด้วยผู้ยึดถืออยู่ในทิฏฐิ
(5) ว่าด้วยอานิสงส์ในทิฏฐิ
(6) ว่าด้วยทัศนะของผู้ฉลาด
(7) ว่าด้วยภูมิธรรมของพระอรหันต์
(8) ว่าด้วยพระอรหันต์ได้ชื่อว่าพราหมณ์
(9) พระอรหันต์ได้ชื่อต่างๆ
 
962 ว่าด้วยเปรียบสิ่งที่ได้ เหมือนความฝัน ครั้นตื่นแล้วย่อมไม่เห็นสิ่งอะไรๆ ฉันใด เพราะฉะนั้น บุรุษตื่นแล้วย่อมไม่เห็น
(มหานิทเทส พระไตรปิฎกฉบับที่ ๒๙ เชื่อว่าเป็นการขยายความ โดยพระสารีบุตร)
963 ว่าด้วยสิ่งต่างๆ ย่อมสลายไปเหลือแต่ชื่อ ผู้ติดใจในวัตถุ ที่ถือว่าของเรา ย่อมไม่ละ ความโศก ความ รำพัน และความหวงแหน
(มหานิทเทส พระไตรปิฎกฉบับที่ ๒๙ เชื่อว่าเป็นการขยายความ โดยพระสารีบุตร)
964 มุนีไม่อาศัยแล้วในสิ่งทั้งปวง มีความว่า อายตนะ ๑๒ (ภายใน6-ภายนอก6) ไม่เกี่ยงข้องใน จักษุ-รูป หู- เสียง จมูก- กลิ่น ลิ้น- รส
(มหานิทเทส พระไตรปิฎกฉบับที่ ๒๙ เชื่อว่าเป็นการขยายความ โดยพระสารีบุตร)
   
965 พราหมณสัจจ์ ๔ คืออะไรเล่า ? “สัตว์ทั้งปวง ไม่ควรฆ่า” พราหมณ์ที่พูดอยู่อย่างนี้ ชื่อว่าพูดคำสัจจ์ ไม่ใช่กล่าวมุสา
966 เจตนารมณ์ของตถาคต เมื่ออดีต (สมัยพระเจ้ามฆะเทวะอายุ 336,000 ปี) กับปัจจุบัน (สมัยเป็นตถาคต ช่วงมนุษย์อายุ 100ปี )
967 วามดีที่ตถาคตสั่งสมไว้แต่ปางก่อน สร้างกศล กายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต ละปานา เข้าหาสมณะพราหมณ์ อะไรเป็นกุศล
968 ภิกษุณีเมตติยา กล่าวหาพระทัพพ ล่วงละเมิดว่าเสพเมถุน พระพุทธเจ้าเรียกประชุมสงฆ์ ..ภิกษุณีกล่าวเท็จ จึงให้สึก
969 พระเวสสันดร การบำเพ็ญบารมีในอดีตชาติ การให้ทานจนเกิดแผ่นดินได้ไหว ภูเขาสิเนรุสั่นสะเทือน ชูชก-พระนางมัททรี กันหา-ชาลี
970 ทรงมีหลักเกณฑ์การฝึกตามลำดับ ตถาคตได้บุรุษที่พอฝึกได้มาแล้วในขั้นแรก ย่อมแนะนำท่านจงเป็นผู้มีศีล สำรวมในปาติโมกข์
971 ทิฏฐิ  ๖๒ ฉบับ มหาจุฬา ปุพพันตกัปปิกวาทะ ๑๘ และ อปรันตกัปปิกวาทะ ๔๔ (รวมเป็น ทิฏฐิ ๖๒)
972

วัจฉสูตร : โลกเที่ยงหรือ..เราไม่พยากรณ์ สัตว์เบื้องหน้าแต่ตายแล้วย่อมเกิดอีก ย่อมไม่เกิดอีก ก็หามิได้หรือ.. เราไม่พยากรณ์

   
  พุทธเจ้าแรกตรัสรู้ ทรงแสดง ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ปฐมเทศนาแก่ปัญจวัคคีย์
973 1) โพธิกถาปฏิจจสมุปบาทมนสิการ : ทรงพิจารณาปฏิจจ(สายเกิด-ดับ)ตลอด ๗ วัน เป็นอนุโลม+ปฏิโลม(ทบทวน)ตลอดปฐมยาม
  2) พุทธอุทานคาถาที่ ๑ : ทรงพิจารณาปฏิจจ (สายเกิด-ดับ) ตลอด ๗ วัน เป็นอนุโลมและปฏิโลม(ทบทวน)ตลอดมัชฌิมยาม
  3) พุทธอุทานคาถาที่ ๒ (ทบทวนปฏิจ)เมื่อธรรมทั้งหลายปรากฎ ความสงสัยย่อมสิ้นไป เพราะได้รู้ความสิ้นแห่งปัจจัย ทั้งหลาย
  4) พุทธอุทานคาถาที่ ๓ : (ทบทวน)เมื่อธรรมทั้งหลายปรากฏ เมื่อนั้นย่อมกำจัดมาร เสียได้ ดุจพระอาทิตย์อุทัย ทำอากาศให้สว่าง
  5) เรื่องพราหมณ์หุหุกชาติ : พราหมณ์ทูลถามว่า คำว่าพราหมณ์ ด้วยเหตุเพียงเท่าไรหนอ ธรรมเหล่าไหนทำบุคคลให้เป็นพราหมณ์
  6) พุทธอุทานคาถา : พราหมณ์ใดมีบาปอันลอยเสียแล้ว ไม่มีกิเลสในอารมณ์ มีพรหมจรรย์อยู่จบแล้วควรกล่าวว่า ตนเป็นพราหมณ์
  7) เรื่องมุจจลินทนาคราช : นาคราชพันล้อมกายพระพุทธเจ้า ๗ รอบ แผ่แม่เบี้ยเหนือพระเศียร ครบ ๗ วันแปลงร่างเป็นคน ก้มกราบ
  8) พุทธอุทานคาถา : ความสงัดเป็นสุขของผู้สันโดษ.. ความไม่พยาบาทเป็นสุขในโลก.. การกำจัดอัสมิมานะเสียได้ เป็นสุขอย่างยิ่ง
974 1) เรื่อง ตปุสสะ ภัลลิกะ ๒ พ่อค้า : ล่วง ๗ วัน พ่อค้าอตปุสสะ และ ภัลลิก ถวายสัตตุผง(ข้าวผง)และสัตตุก้อน ตามที่เทวดาแนะนำ
  2) ทรงปริวิตก : ว่าธรรมที่บรรลุแล้ว เห็นได้ยาก รู้ได้เฉพาะบัณฑิต หมู่สัตว์ยังเริงรมย์ด้วยยินดี-อาลัย ในอวิชชาเป็นปัจจัยแห่งสังขาร
  3) อนัจฉริยคาถา(ธรรมนี่เห็นได้ยาก) เราไม่ควรจะประกาศธรรมที่บรรลุ พระทัยน้อมไปเพื่อความขวนขวายน้อยไม่น้อมไปเพื่อแสดงธรรม
  4) พรหมยาจนกถา : ท้าวสหัมบดีพรหม ทราบพระปริวิตกของพระผู้มีพระภาค เกิดปริวิตกว่า ชาวเราผู้เจริญ โลกจักฉิบหายหนอ
  5) สัตว์โลกเปรียบด้วยดอกบัว ๓ เหล่า: ทรงตรวจดูสัตว์โลก เห็นสัตว์ที่มีธุลีคือกิเลส อุปมาเหมือน บัวกออุบล กอปทุม กอบุณฑริก
  6) พุทธปริวิตกกถา : ทรงดำริว่าจะแสดงธรรม แก่อาฬารดาบส - อุทกดาบส แต่เทวดาบอกเสียชีวิตแล้ว จึงไปหาปัญจวัคคีย์ ที่ป่าอิสิ
  7) เรื่องอุปกาชีวก : อาชีวก เห็นผิวพรรณของ ภ.ผุดผ่องยิ่งนัก ถาม..ใครเป็นศาสดาของท่าน ท่านชอบธรรมของใคร..แล้วส่ายหน้า
975 1) เรื่องพระปัญจวัคคีย์ : พระองค์ยังไม่บรรลุ อุตตริมนุสสธรรม.. เป็นผู้มักมาก.. ตถาคตตรัสรู้เองโดยชอบ พวกเธอจงเงี่ยโสตสดับ
  2) ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ปฐมเทศนา: ส่วนสุดสองที่ไม่ควรเสพ คือกามสุข-ทำความลำบากแก่ตน ทางสายกลางคือมรรคมีองค์๘
  3)ดวงตา ญาณ ปัญญา วิทยา แสงสว่าง: ทุกข์-ควรกำหนดรู้..สมุทัย-ควรละ..นิโรธ-ควรทำให้แจ้ง..ปฏิปทา..ควรให้เจริญ
  4) ญาณทัศนะมี ๓ รอบ ๑๒ อาการ : โกณฑัญญะมีดวงตาเห็นธรรม เหล่าเทวดา บันลือธรรมจักรอันยอดเยี่ยม จนถึงพรหมโลก
976 1) ปัญจวัคคีย์ทูลขอบรรพชาอุปสมบท : พระโกณฑัญญะ บรรลุธรรมแล้ว จากนั้นวัปปะ ภัททิยะ มหานามะ อัสสชิ ก็ตามมา
  2) ทรงแสดงอนัตตลักขณสูตร : รูปเป็นอนัตตา เวทนา.. สัญญา.. สังขารทั้งหลาย เป็นอนัตตา ขันธ์ทั้ง ๕ จึงเป็นไปเพื่ออาพาธ
  3) ตรัสถามความเห็นของพระปัญจวัคคีย์ : รูปเที่ยงหรือไม่เที่ยง ไม่เที่ยงพระเจ้าข้า ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า
  4) ตรัสให้พิจารณาโดยยถาภูตญาณทัสสนะ: เธอพึงเห็นรูปด้วยปัญญาอันชอบว่านั่นไม่ใช่ของเรานั่นไม่เป็นเรานั่นไม่ใช่ตนของเรา
   
 

การบำเพ็ญบารมีในอดีตชาติ

977

คำชี้แจงเฉพาะภาคนี้
ต้องท่องเที่ยวมาแล้ว เพราะไม่รู้อริยสัจจ์
ตลอดวัฏฏสงสารของพระองค์ ไม่เคยทรงบังเกิด ในชั้นสุทธาวาส
ในวัฏฏสงสารที่ล่วงมาแล้ว เคยทรงบูชายัญญ์และบำเรอไฟแล้วอย่างมาก
ทิฏฐานุคติแห่งความดี ที่ทรงสั่งสมไว้แต่ภพก่อน ๆ
ชาติที่ ๑ ครั้งมีพระชาติเป็นโชติปาลมาณพ

978 ชาติที่ ๒ ครั้งมีพระชาติเป็นพระเจ้ามหาสุทัศน์
ชาติที่ ๓ ครั้งมีพระชาติเป็นปุโรหิต สอนการบูชายัญญ์
ชาติที่ ๔ ครั้งมีพระชาติเป็นพระเจ้ามฆเทวราช
979 ชาติที่ ๕ ครั้งมีพระชาติเป็นมหาโควินทพราหมณ์
ชาติที่ ๖ ครั้งมีพระชาติเป็นรถการ ช่างทำรถ
ชาติที่ ๗ ครั้งมีพระชาติเป็นอกิตติดาบส
ชาติที่ ๘ ครั้งมีพระชาติเป็นพระจันทกุมาร
ชาติที่ ๙ ครั้งมีพระชาติเป็นสังขพราหมณ์
ชาติที่ ๑๐ ครั้งมีพระชาติเป็นเวลามพราหมณ์
980 ชาติที่ ๑๑ ครั้งมีพระชาติเป็นพระเวสสันดร ***
ชาติที่ ๑๒ ครั้งมีพระชาติเป็นมาตังคชฎิล
ชาติที่ ๑๓ ครั้งมีพระชาติเป็นจูฬโพธิ์์
ชาติที่ ๑๔ ครั้งมีพระชาติเป็นเจ้าชายยุธัญชยะ
ที่สุดแห่งการท่องเที่ยวของพระองค์
   
981 อิทธิบาท ๔ ฉันท วิริยะ จิตติ วิมังสา..ผล.. อรหัตผล หรือ อนาคามี อันตราปรินิพพายี อุปหัจจ อสังขาร สสังขาร อุทธังโสโต
982 วิธีเจริญอิทธิบาท ๔ เจริญอิทธิบาท๔ ฉันทสมาธิ วิริยสมาธิ จิตตสมาธิ วิมังสาสมาธิ ผล...ย่อมแสดงฤทธิ์ ได้หลายอย่าง
983 วัตรของเดียร์ถีย์ ตปัสสีวัตร(เปลือยกาย)..ลูขวัตร(ทำตัวสกปรก) ..เชคจฉิวัตร(มีสติก้าว-ถอย) ปวิวิตตวัตร(โดดเดี่ยวหลบผู้คน)
984 อุโปสถสูตร อุโบสถมี ๓ อย่าง ๑.โคปาลกอุโบสถ-แบบคนเลี้ยงโค ๒.นิคัณฐอุโบสถ-แบบลัทธิอื่น ๓.อริยอุโบสถ-แบบของตถาคต
   
  เรื่องพระเทวทัต
985 พระเทวทัต ตอนที่ ๑ เรื่องวัตถุ ๕ ประการ พระเทวทัต ขอให้พระองค์บัญญัติเป็นวินัยสงฆ์ แต่ทรงไม่อนุญาต.. จึงไปโพนทะนา
986 พระเทวทัต ตอนที่ ๒ พระพุทธเจ้าตำหนิสงฆ์ ที่ประพฤติตามพระเทวทัต ทรงบัญญัติ สิกขาบทวิภังค์ ให้ภิกษุดูแลกัน ให้เตือนกัน
987 พระเทวทัต ตอนที่ ๓ พระเทวทัต พร้อมหมู่สงฆ์ เที่ยวขออาหารมาฉัน ทรงติเตียน และทรงบัญญัติ ห้ามภิกษุฉันรวมกันเป็นหมู่
988 พระเทวทัต ตอนที่ ๔ พระเทวทัตสวดปาติโมกข์ในบริษัท ที่มีคฤหัสถ์ปนอยู่ด้วย พ.ห้าม รูปใดสวด ต้องอาบัติทุกกฏ
989 พระเทวทัต ตอนที่ ๕ ตระกูลศากยะออกบวช อนุรุธะ (ได้ทิพย์จักษุ) อานนท์(สำเร็จโสดาบัน) เทวทัต (สำเร็จฤทธิ์ชั้นปถุชน)
990 พระเทวทัต ตอนที่ ๖ พระเทวทัต แสดงฤทธิ์ แปลงร่างเป็นกุมารน้อย จากนั้นมีความคิด ที่จะปกครองสงฆ์ แทนพระพุทธเจ้า
991 พระเทวทัต ตอนที่ ๗ อชาตสัตตลอบปลงพระบิดา พระเทวทัตลอบปลง พ. ส่งคนมือธนู ทุ่มหิน ปล่อยช้างนาฬาคิรี
992 พระเทวทัต ตอนที่ ๘ ปกาสนียกรรม ประกาศการกระทำ(ประจาน)ของพระเทวทัต ว่าประพฤติ กาย วาจา ใจ ต่างจากเมื่อก่อน
993 พระเทวทัต ตอนที่ ๙ เทวทัตพาภิกษุใหม่ ๕๐๐ รูปไปคยาสีสะ พระสารี-พระโมคพากลับ ทำให้โลหิตพุ่งออกจากปากพระเทวทัต
994 พระเทวทัต ตอนที่ ๑๐ พระเทวทัตไปเกิดในอบายเพราะไม่เห็นธรรมขาวแม้ปลายขนทราย ต้องเกิดในอบายตลอดกัปเยียวยาไม่ได้
995 พระเทวทัต ตอนที่ ๑๑ ประวัติพระเทวทัต(จากวิกิพีเดีย) ภาพปัจจุบันที่เชื่อว่าพระเทวทัตถูกธรณีสูบ หน้าวัดเชตวัน เมืองสาวัตถี
   
996 รวมพระสูตรภิกษุฉันมื้อเดียว เธอฉันหนเดียว เว้นการฉันในราตรี งดจากการฉันในเวลาวิกาล.. อาพาธน้อยลำบากกายน้อย มีกำลัง
 

(1) สมฺปนฺนสีลา (จุลศีล) เธอฉันหนเดียว เว้นฉันในราตรี งดฉันในเวลาวิกาล
(2) วิตถตสูตร (อุโบสถ ๘ ประการ) ข้อ ๖.ไม่พึงบริโภคในเวลาวิกาลในราตรี
(3) กีฏาคิริสูตร คุณของการฉันอาหารน้อย เราการฉันในราตรี
(4) กกจูปมสูตร ประโยชน์ของการฉันอาหารมื้อเดียว
(5) ฉวิโสธนสูตร ผู้งดขาดจากการล้างผลาญพืชคามและภูตคาม
(6) อุโปสถสูตร (ข้อ ๕๑๐)....... พระอรหันต์ทั้งหลาย ฉันหนเดียว
(7) ภเวสิสูตร ตั้งแต่วันนี้ไป จงจำเราไว้ว่า เป็นผู้บริโภคอาหารมื้อเดียว
(8) ภัททาลิสูตร คุณแห่งการฉันอาหารหนเดียว
(9) ลฑุกิโกปมสูตร เรื่องพระอุทายี จงละการฉันโภชนะในเวลาวิกาล
(10) ภิกษุกำลังฉันค้างอยู่ลุกขึ้น ลุกแล้วห้ามฉันต่อ

997 อายตนะ ๖ ภายใน๖ ภายนอก๖ ผัสสายตนะ๖ วิญญาณ ๖ ผัสสะ๖ เป็นแดนเกิดของกรรม และเป็นแดนเกิดของภพ
998 ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ : ๑.มีปัญญา ๒.มีสัจจะ ๓.มีจาคะ ๔.มีอุปสมะ (ความสงบ ความระงับ)
999 ธาต ๖ คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ วิญญาณธาตุ
1000 ทรงพยากรณ์ คติและภพเบื้องหน้า ของ ภิกษุ ภิกษุณี อุบากสก อุบาสิกา ผู้ทำกาละไปแล้ว (จำนวน ๖๖๘ คน)
   
   



พุทธวจน : อ่านคำสอนพระศาสดา อ่านแบบสบายตา โดยคัดลอกหนังสือทั้งเล่มมาจัดทำเป็นเว็บเพจ (คลิกอ่านพร้อมดาวน์โหลดไฟล์ pdf)
90 90 90 90  
 
พุทธประวัติ ขุมทรัพย์
อริยสัจ
ภาคต้น
อริยสัจ
ภาคปลาย
ปฏิจจ ปฐมธรรม ตถาคต อนาคามี อินทรีย์
สังวร
สัตว์
สัตตานัง
ทาน
สกทาคามี
ฆราวาส
ชั้นเลิศ
มรรควิธี
ที่ง่าย
 
   
อริยวินัย เดรัจฉานวิชา กรรม สมถะ
วิปัสสนา
โสดาบัน อานา
ปานสติ
จิต มโน
วิญญาณ
ก้าวย่าง
อย่างพุทธะ
ตามรอย
ธรรม
ภพ ภูมิ
พุทธวจน
สาธยาย
ธรรม
สังโยชน์