|
|
|
พระสูตรชุดเต็ม ชุด 19 |
|
|
 |
|
1901 |
เอสุการีสูตร เรื่องเอสุการีพราหมณ์.. ว่าด้วยการบำเรอ ๔.. ว่าด้วยทรัพย์ ๔ ..คนจะดีหรือชั่วมิใช่เพราะวรรณะ |
1902 |
ธนัญชานิสูตร เรื่องธนัญชานิพราหมณ์ พระสารีบุตรแสดงธรรมกับภิกษุท. และธนัญชานิพราหมณ์ |
1903 |
วาเสฏฐสูตร วาเสฏฐมาณพ และภารทวาชมาณพ เข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาค พราหมณ์ในแบบลัทธิอื่นและพราหมณ์ในพระพุทธศาสนา |
1904 |
สุภสูตร ทรงโปรดสุภมาณพ คฤหัสถ์หรือบรรพชิตปฏิบัติชอบแล้วชื่อว่า เป็นผู้ยินดีกุศลธรรม เพราะปฏิบัติชอบ |
1905 |
เทวทหสูตร วาทะของนิครนถ์ เรื่องกรรมเก่า กรรมใหม่ ผลของกรรม เรื่องเวทนา .. |
1906 |
สามคามสูตร ว่าด้วยเหตุการณ์ในหมู่บ้านสามคาม การตายของนิครนถ์นาฏบุตร ทำให้พวกนิครนถ์แตกป็น ๒ พวกมีการทะเลาะกัน |
1907 |
โคปกโมคคัลลานสูตร ว่าด้วยพราหมณ์ชื่อโคปกโมคคัลลานะ |
1908 |
จูฬปุณณมสูตร อสัตบุรุษจะพึงรู้จักสัตบุรุษว่าผู้นี้เป็นสัตบุรุษ นั่นก็ไม่ใช่ฐานะ ไม่ใช่โอกาส |
1909 |
เสวิตัพพาเสวิตัพพสูตร ความประพฤติทางกาย วาจา ใจ ..โดยส่วนสอง ควรเสพ (กุศลเจริญ) และไม่ควรเสพ (อกุศลเจริญ) |
1910 |
โลมสกังคิยภัทเทกรัตตสูตร ผู้มีราตรีหนึ่งเจริญ บุคคลง่อนแง่นในธรรม จันทนเทวบุตรเทพบุตร เข้าไปหา พระโลมสกังคิยะ |
1911 |
สัจจวิภังคสูตร ทรงประกาศธรรมจักรอันไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า ที่ป่าอิสิ อันสมณะ พราหมณ์ เทวดา หรือใครๆในโลกยังไม่เคยประกาศ |
1912 |
นครวินเทยยสูตร พ.เสด็จจาริกไปในโกศลชนบท ทรงแวะยังบ้านพราหมณ์ชื่อว่านครวินทะ พราหมณ์คฤหบดีและชาวบ้านเข้าเฝ้าฯ |
1913 |
ธาตุสังยุตต์ (คบกับด้วยธาตุ) สัตว์ย่อมคบค้าสมาคมกันโดยธาตุเทียว พวกที่ไม่มีศรัทธา ย่อมคบค้าสมาคมกันกับพวกที่ไม่มีศรัทธา |
1914 |
ธาตุสังยุตต์ (ธาตุ ๔) สุขโสมนัสแห่งธาตุ๔... โทษแห่งธาตุ๔.. เครื่องสลัดออกแห่งธาตุ ๔ |
1915 |
สันตุฏฐสูตร เราจักเป็นผู้สันโดษด้วยจีวรตามมีตามได้ จักสรรเสริญคุณแห่งความสันโดษ ไม่ได้จีวรก็ไม่สะดุ้ง ได้เสนาสนะก็ไม่ยินดี |
1916 |
อโนตตัปปิสูตร ท่านพระสารีบุตร สนทนาปราศรัยกับท่าน พระมหากัสสป เรื่องความไม่สะดุ้งกลัว |
1917 |
กุลูปกสูตร การเข้าสู่สกุล ภิกษุชนิดไรสมควรเข้าไปสู่สกุล ภิกษุชนิดไรไม่สมควรเข้าไปสู่สกุล |
1918 |
โอวาทสูตร พระมหากัสสปเข้าเฝ้าฯ เล่าพฤติกรรมภิกษุ ว่า ล่วงเกินกันด้วยสุตะ เป็นผู้ว่ายาก ไม่อดทน ไม่รับอนุศาสนีโดยเคารพ |
1919 |
ปรัมมรณสูตร พระสารีบุตร ปราศัยกับท่านพระมหากัสสป สัตว์เมื่อตายไปแล้ว เกิดอีกหรือ ไม่เกิดอีกหรือ พ.มิได้ทรงพยากรณ์ไว้ |
1920 |
เทวทหสูตร ว่าด้วยการกำจัดฉันทราคะในขันธ์ ๕ พระศาสดาตรัสสอนให้กำจัดฉันทราคะในรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ |
1921 |
สมาธิสูตร ความยินดีในรูปคือการเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์.. ปฏิสัลลานสูตร อุปาทานปริตัสสนาสูตร อตีตานาคตปัจจุปันนสูตร |
1922 |
คัททูลสูตรที่ ๑ คัททูลสูตรที่ ๒ ว่าด้วยอุปมาขันธ์ ๕ ด้วยเสาล่ามสุนัข |
1923 |
เผณปิณฑสูตร ว่าด้วยอุปมาขันธ์ ๕... ขันธ์๕ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เป็นของว่างเปล่า ไม่มีตัวตน |
1924 |
อนิจจสูตร ว่าด้วยความเป็นอนิจจังแห่งขันธ์ ๕ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เป็นอนิจจัง |
1925 |
อุปายวรรคที่ ๑ รวม ๑๐ พระสูตร อุปายสูตร ความหลุดพ้น-ไม่หลุดพ้น พีชสูตรอุปมาวิญญาณด้วยพืช อุทานสูตร การตัดสังโยชน์ |
1926 |
รวมพระสูตร อนิจจสูตร ทุกขสูตร นัตตสูตร อนิจจสูตร อนัตตสูตร ปัจจุปันนานิจจสูตร... |
1927 |
สัมโพธสูตรที่ ๑ (ดำริก่อนตรัสรู้) สุขโสมนัสเพราะจักษุเป็นคุณแห่งจักษุ จักษุไม่เที่ยงนี้เป็นโทษ การกำจัดฉันทราคะ เป็นความสลัดออก |
1928 |
อวิชชาวรรค อวิชชาสูตร อุปัฑฒสูตร สาริปุตตสูตร พราหมณสูตร กิมัถิยสูตร ภิกขุสูตรที่ ๑ ๒ วิภังคสูตร สุกสูตร นันทิยสูตร |
1929 |
วิหารวรรคที่ ๒ เสขสูตร องค์คุณ ๘ ของพระเสขะ ปปาทสูตรที่ ๑ ธรรม ๘ ประการ ย่อมมีเพราะการปรากฏแห่งพระตถาคต |
1930 |
บาลีแห่งเอกธรรมเป็นต้น เราย่อมไม่เล็งเห็นรูปอื่น แม้อย่างหนึ่ง ที่จะครอบงำจิต ของบุรุษตั้งอยู่ เหมือนรูปสตรีเลย |
1931 |
เอตทัคคบาลี ผู้ยอดเยี่ยมในทางใดทางหนึ่งเป็นพิเศษ ที่พระพุทธเจ้าทรงแต่งตั้งจำนวน ๗๔ ท่าน |
1932 |
มิจฉัตตวรรคที่ ๓ มิจฉัตตสูตร อกุศลธรรมสูตร ปฏิปทาสูตรที่ อสัปปุริสสูตรที่ กุมภสูตร สมาธิสูตร เวทนาสูตร อุตติยสูตร... |
1933 |
เอกธัมมาทิบาลี (เอกธัมมบาลี) วรรค ๑ ธรรมที่เป็นไปเพื่อตรัสรู้ เพื่อนิพพาน คือ พุทธานุสสติ คือ ธัมมานุสสติ สังฆานุสสติ ... |
1934 |
เอกธัมมาทิบาลี (เอกธัมมบาลี) วรรค ๒ เราไม่เล็งเห็นธรรมอย่างอื่นแม้ข้อหนึ่ง ซึ่งจะเป็นเหตุให้ อกุศลธรรม ที่ยังไม่เกิด ให้เกิดขึ้น |
1935 |
เอกธัมมาทิบาลี (เอกธัมมบาลี) วรรค ๓ บุคคลคนเดียวเมื่อเกิดขึ้นในโลกย่อมเกิดขึ้นเพื่อประโยชน์แก่ชน.. คือผู้เป็นสัมมาทิฐิ |
1936 |
ชาติธรรมวรรคที่ ๔ อนิจจวรรคที่ ๕ สิ่งทั้งปวงมีความเกิดเป็นธรรมดา สิ่งทั้งปวงเป็นของไม่เที่ยง |
1937 |
สนิมิตตวรรคที่ ๓ (บาปอกุศลอาศัยเหตุจึงเกิด ไม่มีเหตุไม่เกิด) ธรรมวรรค (ธรรม ๒ อย่างที่เป็นฝ่ายกุศล) พาลวรรคที่ ๕ ... |
1938 |
ตติยปัณณาสก์ ความหวังที่ละได้ยาก..อายาจนวรรคที่ ๒ ความปรารถนา..ทานวรรคที่ ๓ ทาน..สันถารวรรคที่ ๔ การรับรอง... |
1939 |
ธรรม ๒ อย่าง... อาศัยอำนาจประโยชน์ ๒ อย่างเพื่อความดีแห่งสงฆ์ เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์ เพื่อป้องกันอาสวะในปัจจุบัน |
1940 |
พระสูตรเรื่องคนพาลกับบัณฑิต.. ภยสูตร ลักขณสูตร จินตาสูตร อัจจยสูตร อโยนิโสสูตร อกุสลสูตร สาวัชชสูตร สัพยาปัชชสูตร .. |
1941 |
ศีลสูตร บุคคลผู้มีศีล ปธานสูตร สัมมัปปธาน สังวรสูตร สังวรปธาน ปัญญัติสูตร การบัญญัติสิ่งที่เลิศ โสขุมมสูตรโสขุมมญาณ |
1942 |
ปริพาชกสูตร ตรัสบทธรรม ๔ ประการ แก่ปริพาชกผู้มีชื่อเสียง อนภิชฌา อพยาบาท สัมมาสติ สัมมาสมาธิ |
1943 |
พรหมจริยสูตร (ต.ประพฤติพรหมจรรย์เพื่อหวังลาภก็หาไม่) กุหสูตร (ผู้กระด้างหาใช่ผู้นับถือเรา) สันตุฏฐิสูตร (ปัจจัย๔ อย่าง) ธรรมปทสูตร |
1944 |
อนนุสสุตสูตร และสูตรอื่น กำลังของตถาคต ๕ ประการ บันลือสีหนาท ประกาศพรหมจักร |
1945 |
อวิชชาวรรคที่ ๑ อวิชชาสูตร สังโยชนสูตร อาสวสูตร อนุสัยสูตร ปริญญาสูตร ปริยาทานสูตร |
1946 |
มิคชาลวรรค สมิทธิสูตรที่ ๔ อุปเสนสูตร อุปวาณสูตร ผัสสายตนสูตรที่ ๑ ผัสสายตนสูตรที่ ๒ ผัสสายตนสูตรที่ ๓ |
1947 |
ท่านประพฤติพรหมจรรย์เพื่อประโยชน์อะไร? เพื่อสำรอกราคะ เพื่อละสังโยชน์ เพื่อถอนอนุสัย เพื่อสิ้นอาสวะ เพื่อปรินิพพาน |
1948 |
ปฏิปัตติวรรคที่ ๔ ประกอบด้วย ปฏิปัตติสูตร ปฏิปันนสูตร วิรัทธสูตร ปารสูตร สามัญญสูตร พรหมัญญสูตร พรหมัญญ พรหมจริยสูตร |
1949 |
รถการวรรคที่ ๒ (ช่างรถ)ญาตกสูตร สรณียสูตร ภิกขุสูตร จักกวัตติสูตร ปเจตนสูตร อปัณณกสูตร อัตตสูตร เทวสูตร ปาปณิกสูตร |
1950 |
สีหสูตร อปริหานิสูตร ปฏิลีนสูตร อุชชยสูตร อุทายสูตร |
1951 |
โรหิตัสสวรรคที่ ๕ พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๑ สมาธิสูตร ปัญหาสูตร โกธสูตรที่ ๑ โกธสูตรที่ ๒ สุวิทูรสูตร วิสาขสูตร วิปัลลาสสูตร อุปกิเลสสูตร |
1952 |
ปุญญาภิสันทวรรคที่ ๑ สุปปวาสสูตร
สุทัตตสูตร
โภชนสูตร
คิหิสามีจิสูตร |
1953 |
อปัณณกวรรคที่ ๓ ปธานสูตร ทิฏฐิสูตร สัปปุริสสูตร อัคคสูตรที่ ๑,ที่ ๒ กุสินาราสูตร อจินติตสูตร ทักขิณาสูตร วณิชชสูตร กัมโมชสูตร |
1954 |
สุริยเปยยาลที่ ๖ กัลยาณมิตตสูตรที่ ๑ มิตรดีเป็นนิมิตแห่งอริยมรรค..สีลสัมปทาสูตรที่ ๑ สีลสัมปทาเป็นนิมิตแห่งอริยมรรค.. |
1955 |
ธรรมอันหนึ่งมีอุปการะมากเพื่อความเกิดขึ้นแห่งมรรค ๘ คือ เป็นผู้มีมิตรดี ถึงพร้อมแห่งศีล ถึงพร้อมแห่งฉันทะ ถึงพร้อมแห่งตน.. |
1956 |
ตถาคตสูตร กุศลธรรมที่มีความไม่ประมาทเป็นมูล บัณฑิตกล่าวว่า เลิศกว่ากุศลธรรมทั้งหลาย |
1957 |
กิมัตถิยสูตร ศีลที่เป็นกุศล มีอะไรเป็นผล มีอะไรเป็นอานิสงส์ เจตนาสูตร บุคคลผู้มีศีลไม่ต้องทำเจตนาว่าขออวิปปฏิสาร จงเกิดขึ้นแก่เรา |
1958 |
อัปปิยสูตร ภิกษูมุ่งลาภสักการะชื่อเสียง ไม่มีหิริ โอตตัปปะ ปรารถนาลามก มีความเห็นผิด ย่อมไม่เป็นที่รักของเพื่อนพรหมจรรย์ |
1959 |
บุคคล ๗ จำพวก, อนุสัย ๗, สกุลซึ่งประกอบด้วยองค์ ๗, คนตกน้ำ ๗ จำพวก ,นิททสวัตถุ ๗ |
1960 |
อปริหานิยธรรม ๗ ประการ หลายนัยยะ สารันททสูตร วัสสการสูตร ภิกขุสูตร กรรมสูตร สัทธิยสูตร โพธิยสูตร สัญญาสูตร เสขสูตร |
1961 |
เรื่องธรรม ๗ ประการ : ของเทวดา, ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๗ ประการ,นิททสะ ๗ ประการตรัสแก่พระสารีบุตรและพระอานนท์ |
1962 |
มหายัญญวรรคที่ ๕ : จิตตสูตร ปริกขารสูตร อัคคิสูตร สัญญาสูตร เมถุนสูตร สังโยคสูตร ทานสูตร มาตาสูตร |
1963 |
อัพยากตสูตร (เรื่องที่ไม่พยากรณ์) สีหสูตร(ตรัสกับสีหเสนาบดี) รักขิตสูตร.. กิมมิลสูตร.. สัตตธรรมสูตร(ผู้ประกอบธรรม ๗ ประการ) |
1964 |
เมตตสูตร (อานิสงส์เมตตาเจโตวิมุตติ) ปัญญาสูตร (เหตุปัจจัยให้ได้ปัญญา) อัปปิยสูตร (ธรรมอันเป็นที่รักและไม่เป็นที่รัก) |
1965 |
อุตตรสูตร (ว่าด้วยพระอุตตระแสดงธรรมเรื่องวิบัติ) นันทสูตร (ว่าด้วยพระนันทะ) กรัณฑวสูตร (ว่าด้วยสมณะหยากเยื่อ) |
1966 |
เวรัญชสูตร พระพุทธเจ้าทรงแก้ข้อสงสัยของ เวรัญชพราหมณ์ กรณีการไม่ไหว้ ไม่ลุกรับ พวกพราหมณ์ ผู้แก่ ผู้เฒ่า |
1967 |
อาชัญญสูตร (ว่าด้วยม้าอาชาไนย) ขฬุงคสูตร มลสูตร ทูตสูตร พันธนสูตร ปหาราทสูตร |
1968 |
อุคคสูตรที่ ๑ และอุคคสูตรที่ ๒ ธรรมที่น่าอัศจรรย์ของ ๘ ประการ ของอุคคคหบดีเมืองเวสาลี และอุคคคหบดี ชาวบ้านหัตถีคาม |
1969 |
พลสูตรที่ ๑ กำลัง๘ ประการ, พลสูตรที่ ๒ กำลังของภิกษุขีณาสพ..เห็นสังขารเป็นของไม่เที่ยง เห็นกามเปรียบด้วยหลุมถ่านเพลิง |
1970 |
อักขณสูตร ว่าด้วยขณะที่ไม่สมควรอยู่ประพฤติพรหมจรรย์ ๘ ประการ เช่น เข้าถึงนรก เดรัจฉาน เปรตวิสัย เกิดเป็นเทวดาที่อายุยืน |
1971 |
คารวสูตรที่ ๑ คารวสูตรที่ ๒ ข้อที่ไม่ใช่ฐานะที่จะมีได้ อนุคคหสูตร สัมมาทิฐิอันองค์๕ อนุเคราะห์ มีเจโต-ปัญญาวิมุติ เป็นผล เป็นผลานิสงส์ |
1972 |
วิมุตติสูตร เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ... สมาธิสูตร ญาณ ๕ อย่างเป็นไฉน |
1973 |
อังคิกสูตร สัมมาสมาธิที่ประกอบด้วยองค์ ๕.. จังกมสูตร อานิสงส์ในการจงกรม..นาคิตสูตร เราไม่ติดยศและยศก็ไม่ติดเรา |
1974 |
อุคคหสูตร.. สีหสูตร.. ทานานิสังสสูตร.. กาลทานสูตร.. โภชนทานสูตร.. สัทธานิสังสสูตร.. ปุตตสูตร.. สาลสูตร (ฉบับหลวง เล่มที่ ๒๒) |
1975 |
อาทิยสูตร (การจัดการทรัพย์ที่หามาได้) สัปปุริสสูตร (อปุมาสัปบุรุษ) อิฏฐสูตร อภิสันทสูตร สัมปทาสูตร ธนสูตร โกสลสูตร นารทสูตร |
1976 |
อุปัชฌายสูตร ภิกษุพึงเจริญโพธิปักขิยธรรมทุกวันทุกคืน ฐานสูตร (ฐานะที่ควรพิจารณาเนืองๆ) กุมารลิจฉวีสูตร ทุลลภสูตร ที่๑ ,ที่ ๒ |
1977 |
เจโตวิมุติสูตรที่ ๑ เจโตวิมุติสูตรที่ ๒ ธรรม ๕ ประการ มีเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ เป็นผล และเป็นอานิสงส์ |
1978 |
ธรรมวิหาริกสูตรที่ ๑ และสูตรที่ ๒ ภิกษุชื่อว่าเป็นผู้อยู่ในธรรม ด้วยเหตุเพียงเท่าไรหนอ |
1979 |
โยธาชีวสูตรที่ ๑ โยธาชีวสูตรที่ ๑ (นักรบอาชีพ ๕ จำพวก กับภิกษุ ๕ จำพวก) |
1980 |
อนาคตสูตรที่๑ (ภัยจากการอยู่ป่า) สูตรที่๒ (ภัยจากผ่านวัยจนถึงชรา) สูตรที่๓ (ไม่อบรมกายอบรมจิต) สูตรที่๔ (ชอบคลุกคลี) |
1981 |
สัญญาสูตรที่ ๑ ,ที่ ๒ วัฑฒิสูตรที่ ๑, ที่ ๒ สากัจฉสูตร สาชีวสูตร อิทธิปาทสูตรที่ ๑,ที่ ๒ นิพพิทาสูตร อาสวักขยสูตร |
1982 |
โกสัมพีสูตร การสนทนาธรรม ระหว่างพระปวิฏฐะ กับพระมุสิละ |
1983 |
สมณพราหมณวรรค สมณะหรือพราหมณ์ย่อมไม่ได้รับสมมติว่าเป็นสมณะในหมู่สมณะ หรือในหมู่พราหมณ์ |
1984 |
ลาภสักการสังยุตต์ (๑) ลาภสักการะชื่อเสียง ทารุณเผ็ดร้อนอันตรายต่อการบรรลุธรรม..สุทธกสูตร พฬิสสูตร กุมมสูตร ทีฆโลมสูตร |
1985 |
ลาภสักการสังยุตต์ (๒) ลาภ สักการะและชื่อเสียง ทารุณเผ็ดร้อนหยาบคาย เป็นอันตรายแก่การบรรลุธรรม |
1986 |
ลาภสักการสังยุตต์ (๓) ลาภ สักการะและชื่อเสียง ทารุณ เผ็ดร้อน หยาบคายเป็นอันตรายแก่การบรรลุธรรม อันเกษมจากโยคะ |
1987 |
ลาภสักการสังยุตต์ (๔) เทวทัต ถูกลาภสักการะ และชื่อเสียงครอบงำ ย่ำยีจิตแล้ว จึงทำลายสงฆ์ |
1988 |
กูฏาคารสูตร (เรือนยอด)กุลสูตร (ว่าด้วยตระกูล)โอกขาสูตร (การให้ทาน)สัตติสูตร (ว่าด้วยหอก) ธนุคคหสูตร (การจับลูกธนู) |
1989 |
โกลิตสูตร (ดุษณีภาพอันประเสริฐ) อุปติสสสูตร (โสกะปริเทวทุกขโทมนัส ไม่เกิดขึ้นแก่พระสารีบุตร) ฆฏสูตร (ปรารภความเพียร) |
1990 |
นวสูตร (ภิกษุใหม่ไม่ช่วยเหลือ) สุชาตสูตร (พระสุชาตรูปงาม) ภัททีสูตร (พระลกุณรูปไม่งาม ตัวเตี้ย) วิสาขสูตร (พระวิสาขวาจาไพเราะ) |
1991 |
ภิกขุสังยุตต์ นันทสูตร เรื่องสมควรและไม่สมควร.. ติสสสูตร เรื่องสมควรและไม่สมควร.. เถรนามสูตร ภิกษุชื่อเถระ เรื่องอยู่ผู้เดียวโดยพิศดาร |
1992 |
อุปาทิยสูตร (ถูกมารผูกมัดเพราะถือมั่นในขันธ์๕) มัญญมานสูตร (เพราะสำคัญในขันธ์ ๕) อภินันทมานสูตร (เพลินในขันธ์๕) อนิจจสูตร |
1993 |
อนัตตสูตรละความพอใจในสิ่งที่เป็นอนัตตา อนัตตนิยสูตร ละความพอใจในสิ่งที่ไม่ใช่ของตน รชนิยสัณฐิตสูตร ราธสูตร สุราธสูตร |
1994 |
ปุณณมสูตร : ว่าด้วยอุปาทานขันธ์ ๕ มูลแห่งอุปาทานขันธ์ ๕ เหตุปัจจัยแห่งขันธ์ ๕ เหตุเกิดสักกายทิฏฐิ คุณโทษ อุบายสลัดออก |
1995 |
อัสสาทสูตร คุณโทษอุบายสลัดออกแห่งขันธ์ ๕ สมุทยสูตร ไม่รู้ความเกิดดับแห่งขันธ์ ๕ อรหันตสูตร พระอรหันต์เป็นผู้เลิศในโลก |
1996 |
ฉันนสูตร : ว่าด้วยเหตุที่เรียกว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ (ความมีอยู่ของโลก ความไม่มีอยู่ของโลก) พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๗ |
1997 |
นทีสูตร เหตุให้ถึงความพินาศ สามุททกสูตร ความไม่เที่ยงแท้ของขันธ์ ๕ ดูกรภิกษุ.. รูปที่เที่ยง ยั่งยืน ไม่แปรปรวน ไม่มีเลย |
1998 |
อันตสูตร (สักกายะ๔) สักกายสูตร (สักกายะตามอริยสัจธรรม) ปริญเญยยสูตร (ธรรมที่ควรกำหนดรู้) สมณสูตร ๑ (ผู้ไม่ควรยกย่อง) |
1999 |
สมณสูตรที่ ๒ (ผู้ไม่ควรยกย่องว่าเป็นสมณพราหมณ์) โสตาปันนสูตร (ผู้เป็นโสดาบัน) อรหันตสูตร (อรหันตขีณาสพ) ฉันทปหีนสูตร |
2000 |
อวิชชาสูตร๑ ธรรมข้อหนึ่งคือ อวิชชา ซึ่งเมื่อภิกษุละได้แล้ว ย่อมละอวิชชาได้ วิชชาย่อมเกิดขึ้น |
|
|
|