เว็บไซต์ อนาคามี เผยแพร่ พุทธวจน คำสอนของพระศาสดา คำสอนตถาคต รวมพระสูตรสำคัญ อนาคามี เว็บไซต์เผยแพร่คำสอนของพระพุทธเจ้า
ค้นหาคำที่ต้องการ       

  ชุด (4) มีเรื่อง  
   1. ธรรมบท-อุทาน ๑๓ หมวด  8. ธรรมที่มีอุปการะมาก ธรรม ๑๐ อย่าง
   2. คาถาธรรมบท ๖ พระสูตร  9. บาลีแห่งเอกธรรม ๑๑ วรรค
   3. ราธะสูตร ๕๗ เรื่อง  10. ปฏิปทา๔ ประการ ๕ นัยยะ
   4. สังขารทั้งหลาย ๕ พระสูตร  11. นิครนถ์โต้วาทะ ๗ พระสูตร
   5. ขันธ์ ๕ - อุปมาขันธ์ ๕ (พุทธวจน -อริยสัจจากระโอษฐ์)  12. ความสะอาด ๓ อย่าง ๔ เรื่อง
   6. ขันธ์ ๕ - รูปเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ (ฉบับหลวง)  13. สังคายนาพุทธศาสนา ๓ ชุดข้อมูล
   7. พระสารีบุตรแสดงธรรม ๑๑ พระสูตร  14. มารผู้มีบาป ๔๖ เรื่อง

  1) ธรรมบท-อุทาน
1008 ธรรมบท-อุทาน 1 หมวดว่าด้วยธรรมเป็นคู่กัน หมวดว่าด้วยความไม่ประมาท
1009 ธรรมบท-อุทาน 2 หมวดว่าด้วยการฝึกจิต หมวดว่าด้วยดอกไม้

1010

ธรรมบท-อุทาน 3 หมวดว่าด้วยคนพาล หมวดว่าด้วยบัณฑิต
1011 ธรรมบท-อุทาน 4 หมวดว่าด้วยพระอรหันต์ หมวดว่าด้วยหนึ่งในร้อยในพัน
1012 ธรรมบท-อุทาน 5 หมวดว่าด้วยบาป
1013 ธรรมบท-อุทาน 6 หมวดว่าด้วยความชรา หมวดว่าด้วยตน
1014 ธรรมบท-อุทาน 7 หมวดว่าด้วยเรื่องโลก หมวดว่าด้วยเรื่องพระพุทธเจ้า
1015 ธรรมบท-อุทาน 8 หมวดว่าด้วยความสุข หมวดว่าด้วยสิ่งเป็นที่รัก
1016 ธรรมบท-อุทาน 9 หมวดว่าด้วยความโกรธ หมวดว่าด้วยมลทินทางใจ
1017 ธรรมบท-อุทาน 10 หมวดว่าด้วยผู้ตั้งอยู่ในธรรม หมวดว่าด้วยมรรค
1018 ธรรมบท-อุทาน 11 หมวดว่าด้วยเรื่องเบ็ดเตล็ด หมวดว่าด้วยคนทำกรรมชั่วตกนรก
1019 ธรรมบท-อุทาน 12 หมวดว่าด้วยช้าง หมวดว่าด้วยตัณหา
1020 ธรรมบท-อุทาน 13 หมวดว่าด้วยภิกษุ หมวดว่าด้วยพราหมณ์
 
  2) คาถาธรรมบท
1046 คาถาธรรมบท ๒๒ : ผู้กล่าวคำไม่จริงย่อมเข้าถึงนรก..ผู้ทำบาปแล้วกล่าวว่ามิได้ทำย่อมเข้าถึงนรก ผู้มีมิจฉาทิฐิย่อมไปสู่ทุคติ
1047 คาถาธรรมบท ๒๓ : เราจักอดกลั้น ความไม่ประมาท ความอดกลั้นซึ่งคำล่วงเกิน ดุจช้างอดทนซึ่งลูกศร ที่ออกมาจากแล่ง
1048 คาถาธรรมบท ๒๔ : ตัณหา ย่อมเจริญแก่มนุษย์ผู้ประมาท ทาน ที่บุคคลถวายในท่าน ผู้ปราศจาก ราคะ โทสะ โมหะย่อมมีผลมาก
1049 คาถาธรรมบท ๒๕ : ความสำรวม ความสำรวมด้วยจักษุ ด้วยหู ด้วยจมูก ด้วยลิ้น ด้วยกาย ด้วยวาจา ด้วยใจ เป็นความดี
1050 คาถาธรรมบท ๒๖ : ความเป็นพราหมณ์ 28 นัยยะ เธอจงเปลื้องราคะ และ โทสะเสีย เหมือนมะลิที่ปล่อยดอกเหี่ยวแห้ง
1051 คาถาธรรมบท ๒๐ : มรรคแปด ประเสริฐกว่าทางทั้งหลาย อริยสัจจ์ประเสริฐกว่าสัจจะทั้งหลาย วิราคธรรมประเสริฐกว่าธรรมทั้ง-
 
  3) ราธะ : พระสูตรตรัสกับราธะ
1052 ราธะ : พระสูตรตรัสกับราธะ
1.การไม่มี อหังการ มมังการ มานานุสัย
2.ว่าด้วยขันธมาร..
3.ว่าด้วยเหตุที่เรียกว่าสัตว์
4.กิเลสเครื่องนำไปในภพ
5.ว่าด้วยธรรมที่ควรกำหนดรู้
6.สมณะพราหมณ์ที่ควรยกย่อง
7.ผู้ควรยกย่องว่าเป็นสมณพราหมณ์
1053 ราธะ : พระสูตรตรัสกับราธะ
8. ว่าด้วยเหตุให้สำเร็จเป็นพระโสดาบัน รู้ชัดเหตุเกิด ..
9. ว่าด้วยเหตุให้สำเร็จเป็นพระอรหันต์ ..
10. ว่าด้วยการละฉันทราคะในขันธ์ ๕ เธอจงสละ ความพอใจ ..
11. ว่าด้วยการละฉันทราคะในขันธ์ ๕ ขันธ์๕ เธอละได้แล้ว ..
12. มารเป็นไฉน..
13. ว่าด้วยธรรมของมาร รูป เป็นมารธรรม ..
14. ว่าด้วยสิ่งที่เป็นอนิจจัง ..
15. สิ่งที่เป็นอนิจจธรรม รูป เป็นอนิจธรรม..
16. อะไรหนอเป็นทุกข์ รูป ..
17. ว่าด้วยสิ่งที่เป็นทุกข์ ..
18. อะไรหนอเป็นอนัตตา? รูปเป็นอนัตตา ..
19. อะไรหนอเป็นอนัตตธรรม? รูป เป็นอนัตตธรรม ..
20. อะไรหนอเป็นขยธรรม? ..
21. วยธัมมสูตร ว่าด้วยสภาพที่รู้จักเสื่อม ..
22. สมุทยธัมมสูตร ว่าด้วยสภาพที่รู้จักเกิดขึ้น ..
23. นิโรธธัมมสูตร ว่าด้วยสภาพที่รู้จัก..
1054 ราธะ : พระสูตรตรัสกับราธะ
24. การละความพอใจในขันธมาร
25. ว่าด้วยการละความพอใจใน มารธรรม
26. สิ่งใดเป็น อนิจจัง พึงละความพอใจในสิ่งนั้นเสีย
27. สิ่งใดเป็น อนิจจธรรม พึงละความพอใจในสิ่งนั้นเสีย
28. สิ่งใดเป็น ทุกข์ พึงละความพอใจในสิ่งนั้นเสีย
29. สิ่งใดเป็น ทุกขธรรม พึงละความพอใจ ในสิ่งนั้นเสีย
30. สิ่งใดเป็น อนัตตา พึงละพอใจในสิ่งนั้นเสีย
31. สิ่งใดเป็น อนัตตธรรม พึงละความพอใจในสิ่งนั้นเสีย
32. สิ่งใดเป็น ขยธรรม (เสื่อมไปสิ้นไป) พึงละความพอใจในสิ่งนั้นเสีย
33. สิ่งใดเป็น วยธรรม (เสื่อมไปสิ้นไป) พึงละความในสิ่งนั้นเสีย
34. สิ่งใดเป็น สมุทยธรรมเสีย (เหตุเกิด) พึงละความพอใจ ในสิ่งนั้น
35. สิ่งใดเป็น นิโรธธรรม เธอพึงละ ความพอใจ ในสิ่งนั้นเสีย

36. รูป เวทนา เป็นมาร พึงละความพอใจ ในรูปนั้นเสีย
37. สิ่งใดเป็น มารธรรม พึงละความพอใจ ในสิ่งนั้นเสีย
38. สิ่งใดเป็น อนิจัง พึงละความพอใจ ในสิ่งนั้นเสีย
39. สิ่งใดเป็น อนิจจธรรม พึงละความพอใจ ในสิ่งนั้นเสีย
40. สิ่งใด เป็นทุกข์ พึงละความพอใจ ในสิ่งนั้นเสีย ฯลฯ
41. สิ่งใด เป็นทุกขธรรม พึงละความพอใจ ในสิ่งนั้นเสีย
42. สิ่งใด เป็นอนัตตา พึงละความพอใจ ในสิ่งนั้นเสีย
43. สิ่งใดเป็น อนัตตธรรม พึงละความพอใจ ในสิ่งนั้นเสีย
44. สิ่งใดเป็น ขยธรรม (เสื่อมไปสิ้นไป) พึง ละความพอใจ ในสิ่งนั้นเสีย
45. สิ่งใดเป็น วยธรรม (เสื่อมไปสิ้นไป)พึงละความพอใจ ในสิ่งนั้นเสีย
46. สิ่งใดเป็น สมุทยธรรม (สิ่งที่รู้จักเกิดขึ้น) พึงละความในสิ่งนั้นเสีย
47. สิ่งใด เป็นนิโรธธรรม (สิ่งที่รู้จักดับ )เธอพึงละความพอใจ

48. สิ่งใดไม่เที่ยง พึงละความพอใจในสิ่งนั้นเสีย จักษุไม่เที่ยง รูปไม่เที่ยง
49. สิ่งใดเป็นทุกข์ เธอพึงละความพอใจในสิ่งนั้นเสีย 
50. สภาพใดแลไม่ใช่ตัวตน เธอพึงละความพอใจใน สภาพนั้นเสีย
51. ว่าด้วยพูดเพ้อเจ้อเพราะความเขลา
52. ว่าด้วยกาวิดน้ำด้วยปาก
53. เป็นทุกข์เพราะภรรยาไม่ได้ผ้าย้อมดอกคำ ทุกข์เพราะถูกเสียบหลาว
54. ว่าด้วยสุนัขเข้าอยู่ในท้องช้าง เราจะไม่เข้าไปสู่ท้องช้างบ่อยๆ
55. ว่าด้วยต้นไม้ใบเดียว ต้นไม้นี้มีเพียงใบเดียว จากพื้นสูงไม่เกิน ๔ นิ้ว
56. ว่าด้วยโทษที่ยกย่องอสัตบุรุษ
1055 ราธะ : พระสูตรตรัสกับราธะ (จากอริยสัจจ์จากพระโอษฐ์) (ตรัสกับ ราธะ และตรัสกับ ภิกษุ ท.)

หน้าที่ ๒๓๓ เบญจขันธ์ไม่เที่ยง
หน้าที่ ๒๓๔ สมุทยธรรม วยธรรม นิโรธธรรม 
หน้าที่ ๒๓๖ เบญจขันธ์เป็นทุกข์
หน้าที่ ๒๓๗ นั่นไม่ใช่ของเรา นั่น ไม่ใช่เรา นั่น ไม่ใช่ตัวตนของเรา 
หน้าที่ ๒๓๘ เหตุปัจจัยของเบญจขันธ์ก็เป็นทุกข์
หน้าที่ ๒๓๙ เบญจขันธ์เป็นอนัตตา
หน้าที่ ๒๔๐ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เป็นอนัตตา
หน้าที่ ๒๔๓ สิ่งใดมิใช่ของเรา
หน้าที่ ๒๔๕ เหตุปัจจัยของเบญจขันธ์ก็เป็นอนัตตา
หน้าที่ ๒๔๖-๑ เบญจขันธ์เป็นภาระที่หนัก
หน้าที่ ๒๔๖ เบญจขันธ์เป็นทั้ง ผู้ฆ่า และ ผู้ตาย
หน้าที่ ๒๔๗ เบญจขันธ์เป็นกองถ่านเถ้ารึง
หน้าที่ ๒๔๘ เบญจขันธ์เป็นเครื่องผูกพันสัตว์
หน้าที่ ๒๔๙ เรียกกันว่า “สัตว์” เพราะติดเบญจขันธ์
หน้าที่ ๒๕๑ ไม่รู้จักเบญจขันธ์ชื่อว่ามีอวิชชา
หน้าที่ ๒๕๑-๑ เพลินในเบญจขันธ์เท่ากับเพลินในทุกข์
หน้าที่ ๒๕๒ ต้องละฉันทราคะ ในเบญจขันธ์
หน้าที่ ๒๕๖ ทรงแสดงลักษณะความทุกข์ (อีกปริยายหนึ่ง)
หน้าที่ ๒๘๒ เครื่องจูงใจสู่ภพ
หน้าที่ ๒๘๓ พืชของภพ (ตรัสกับอานนท์)
หน้าที่ ๔๑๙ ละกิเลสตัณหาได้ คือละเบญจขันธ์ได้
หน้าที่ ๔๒๐ ละฉันทราคะแห่งสิ่งใด ก็คือการละซึ่งสิ่งนั้น
หน้าที่ ๔๒๑ ความสิ้นตัณหา คือ นิพพาน
หน้าที่ ๔๒๒ ที่สุดของพรหมจรรย์ คือนิพพาน

 
  4) รวมเรื่อง กายสังขาร วจีสังขาร มโนสังขาร
1089 ๑) กรรมดำกรรมขาว ๔ (กุกกุโรวาทสูตร) ก็กรรมไม่ดำไม่ขาว มีวิบากไม่ดำไม่ขาว ย่อมเป็นไปเพื่อความ สิ้นกรรมนั้นเป็นไฉน
1090 ๒) เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย บุคคลย่อมปรุงแต่งสังขารทั้งหลาย.. เมื่อกาย วาจา ใจมีอยู่ สุขและทุกข์ ย่อมบังเกิดขึ้น
1091 ๓) สังขารสูตร บุคคลย่อมปรุงแต่งกายสังขาร วจีสังขาร มโนสังขาร ที่มีความเบียดเบียน ไม่เบียดเบียน ทั้งเบียดเบียนและไม่เบียด
1092 ๔) สัญเจตนิยวรรคที่ ๓ เมื่อกายมีอยู่ เมื่อวาจามีอยู่ เมื่อใจมีอยู่ สุขทุกข์ภายในย่อมเกิดขึ้น เพราะกายสัญเจตนา เป็นเหตุ ...
1093 ๕) กรรมวรรคที่ ๔ มรรควิธีเพื่อความสิ้นกรรม (ไม่มีทั้งกรรมดำ-ขาว) คือเจตนาเพื่อละกรรมดำ- อริยมรรคมีองค์แปด-โพชฌงค์ ๗
 
  5) ขันธ์ ๕ และ อุปมาขันธ์ ๕ (หนังสือพุทธวจน และอริยสัจจากพระโอษฐ์)
1101 (1) ขันธ ๕ คือมาร
(2) ขันธ์ ๕ เป็นผู้ทำให้ตาย เป็นผู้ตาย เป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร เป็นความยากลำบาก...
(3) ขันธ์ ๕ เป็นทั้งผู้ฆ่า และผู้ตาย
(4) คือ ปัญจุปาทานขันธ์ (ขันธ์ที่ยังมีอุปาทาน) คือที่ตั้งแห่งอุปาทาน
(5) ขันธ์ ๕ คือ สักกายะ และสักกายันตระ
(6) ขันธ์ ๕ เป็นที่บัญญัติกฎแห่งสังขตะ : กฎแห่งความบังเกิดขึ้น กฎแห่งความเสื่อมไปก็ดี
(7) ขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ เป็นทุกขธรรม (มีทุกข์เป็นธรรมดา) เป็นอนัตตา นั้นไม่ใช่ของเรา
(8) เหตุปัจจัยของ ขันธ์ ๕ ก็เป็นทุกข์ เมื่อเหตุปัจจัยเป็นทุกข์แล้ว จักเป็นสุขได้อย่างไร
(9) เหตุปัจจัยของ ขันธ์ ๕ ก็เป็นอนัตตา
(10) สุข-ทุกข์ เนื่องจากการมีอยู่แห่งขันธ์ทั้ง ๕
(11) อุปมาแห่ง ขันธ์ ๕
(12) ขันธ์ ๕ เป็นสิ่งที่ควรรอบรู้
(13) มูลฐานแห่งการบัญญัติ ขันธ์ ๕ (แต่ละขันธ์)
(14) การถูกตราหน้าเพราะอนุสัยใน ขันธ์ ๕
(15) การถูกตราหน้าเพราะตายตาม ขันธ์ ๕
(16) สัญโญชน์ และที่ตั้งแห่งสัญโญชน์
(17) ความลับของ ขันธ์ ๕
(18) ขันธ์ ๕ เป็นธรรมฝ่ายที่แตกสลายได้
(19) ขันธ์ ๕ ไม่เป็นไปตามความต้องการของเรา
(20) สิ่งใดมิใช่ของเรา
(21) ขันธ์ ๕ เป็นภาระที่หนัก
(22) ขันธ์ ๕ เป็นกองถ่านเถ้ารึง(กองเถ้าที่ยังร้อนระอุ)
(23) ขันธ์ ๕ เป็นเครื่องผูกพันสัตว์
(24) เรียกกันว่า “สัตว์” เพราะติด ขันธ์ ๕
(25) ไม่รู้จัก ขันธ์ ๕ ชื่อว่ามีอวิชชา
(26) เพลินใน ขันธ์ ๕ เท่ากับเพลินในทุกข์
(27) ขันธ์๕ คือที่สุดแห่งโลก คือที่สุดแห่งทุกข์
(28) กายนี้( ขันธ์ ๕) เป็น “กรรมเก่า” เป็นเพียงกระแสปฏิจจสมุปบาท
(29) ขันธ์ ๕ เป็นไฉน
(30) อุปาทานขันธ์ ๕ (ขันธ์ เป็นที่ตั้งแห่งอุปทาน)
(31) “สิ่งนั้น” หาพบในกายนี้ (ขันธ์ ๕) คือที่สุกแห่งโลก ที่สุดแห่งทุกข์
(32) ขันธ์ ๕ ไม่เที่ยง คำสอนที่ทรงสั่งสอนบ่อยมาก
(33) ย่อมยุบ ย่อมไม่ก่อ ย่อมขว้างทิ้ง ย่อมไม่ถือเอา ซึ่ง..ขันธ์ ๕
(34) ธรรมชาติของ ขันธ์ ๕ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
(35) เราถูกขันธ์ ๕ เคี้ยวกินอยู่ จึงไม่เพ่งต่อขันธ์ ๕ อันเป็นอดีต ไม่เพลินต่ออนาคต
(36) ขันธ์๕ ไม่เที่ยงเป็นทุกข์.. ควรหรือหนอ ? ที่จะตามเห็นสิ่งนั้นว่า “นั่นของเรา นั่นเป็นเรา
(37) ขันธ์๕ ที่เป็นอดีต-อนาคต-ปัจจุบัน มีภายใน-ภายนอก
(38) ขันธ์๕ (ระดับเสขะ) เธอย่อมยุบ ย่อมไม่ก่อ ย่อมขว้างทิ้ง ย่อมไม่ถือเอา
(39) ขันธ์๕ (ระดับอเสขะ) ไม่ก่อไม่ยุบแต่ยุบแล้วดำรงอยู่ ไม่ขว้างทิ้งไม่ถือเอาแต่ทิ้งแล้วดำรงอยู่
(40) ขันธ์ ๕ เป็นของเร่าร้อน รูป เวทนา สัญญาเป็นของเร่าร้อน ผู้ใดเห็นอยู่แบบนี้ย่อมเบื่อหน่ายคลายกำหนัดจึงหลุดพ้น
 
  6) ขันธ์๕ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ (จากพระไตรปิฎกฉบับหลวง)
1531  
1 ความเป็นอนิจจัง แห่งขันธ์ ๕ ในสามกาล รูปที่เป็นอดีต อนาคต ปัจจุบัน ไม่เที่ยง
2 ความเป็นทุกข์ แห่งขันธ์ ๕ ในสามกาล รูปที่เป็นอดีต อนาคต ปัจจุบัน เป็นทุกข์
3 ความเป็นอนัตตา แห่งขันธ์ ๕ ในสามกาล รูปที่เป็นอดีต อนาคต ปัจจุบัน เป็นอนัตตา
4 ความเป็นอนิจจังแห่งขันธ์ ๕
5 ความเป็นทุกข์แห่งขันธ์ ๕ รูปเป็นทุกข์ ..ผู้สดับย่อมรู้ชัด ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว
6 ความเป็นอนัตตาแห่งขันธ์ ๕ รูปเป็นอนัตตา...ผู้เห็นอยู่ย่อมเบื่อหน่ายคลายกำหนัดในรูป
7 ความเป็นอนิจจังแห่งขันธ์ ๕ รูปไม่เที่ยง สิ่งใดไม่เที่ยงสิ่งนั้นเป็นทุกข์ สิ่งใดเป็นทุกข์...
8 ความเป็นทุกข์แห่งขันธ์ ๕ รูปเป็นทุกข์ สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้นเป็นอนัตตา สิ่งนั้นไม่ใช่ของเรา
9 ความเป็นอนัตตาแห่งขันธ์ ๕ รูปเป็นอนัตตา รูปนั้นไม่ใช่ของเรา ไม่เป็นเรา ไม่ใช่ตัวตน
10 ความเป็นอนิจจังแห่งเหตุปัจจัย รูปไม่เที่ยง แม้เหตุปัจจัยที่ให้รูปเกิดขึ้นก็ไม่เที่ยง
11 ความเป็นทุกข์แห่งเหตุปัจจัย รูปเป็นทุกข์ แม้เหตุปัจจัยที่ให้รูปเกิดขึ้น ก็เป็นทุกข์
12 ความเป็นอนัตตาแห่งเหตุปัจจัย รูปเป็นอนัตตา แม้เหตุปัจจัยที่ให้รูปเกิดขึ้น ก็เป็นอนัตตา
13 ความดับแห่งขันธ์ ๕ ความดับเรียกว่านิโรธ ความดับแห่งธรรมเหล่าไหน แล เรียกว่านิโรธ
1532  
1 ว่าด้วยขันธ์ ๕ เป็นภาระ ภาระ คืออุปาทานขันธ์ ๕ คือ รูปอุปาทาน เวทนาอุปาทาน...
      1.1 ผู้แบกภาระเป็นไฉน? บุคคลบุคคลนี้ นั้น คือท่านผู้มีชื่ออย่างนี้ มีโคตรอย่างนี้
      1.2 เครื่องถือมั่นภาระเป็นไฉน?คือตัณหาที่นำไปสู่ภพ ประกอบด้วยความกำหนัด
      1.3 การวางภาระเป็นไฉน? ความที่ตัณหานั้นแลดับไป สำรอกไป ความไม่อาลัย
2 ธรรมที่ควรกำหนดรู้ คือ รูป เวทนา..ควรกำหนดรู้ ความสิ้นไปแห่งราคะ โทสะ... คือความรอบรู้
3 ผู้ไม่ควร และ ผู้ควรสิ้นทุกข์.. บุคคลผู้ไม่รู้ ไม่กำหนดรู้ ไม่ละซึ่งรูป เป็นผู้ไม่ควรเพื่อสิ้นทุกข์
4 การละฉันทราคะในขันธ์ ๕ เธอจงละฉันทราคะในรูปเสีย ทำให้เป็นตาลยอดด้วน ให้ถึงความไม่มี
5 ความปริวิตกของโพธิสัตว์เกี่ยวกับขันธ์ ๕ อะไรหนอ เป็นคุณ เป็นโทษ เครื่องสลัดออก ของรูป
6 สิ่งที่พระองค์ค้นพบ.. เราค้นหาคุณแห่งรูป เห็นคุณแห่งรูป พบโทษแห่งรูป เห็นโทษแห่งรูป
7 คุณ-โทษ-เครื่องสลัดออกแห่งขันธ์ ๕ ถ้าคุณแห่งรูปจักไม่มี สัตว์ก็จะไม่พึงกำหนัดในรูป.. แต่
   7.1 ถ้าคุณแห่งรูปจักไม่มี สัตว์ก็จะไม่พึงกำหนัดในรูป แต่เพราะคุณแห่งรูปมีอยู่
8 ผลแห่งความเพลิดเพลิน และ ไม่เพลิดเพลินในขันธ์ ๕ ผู้ใดเพลินรูป ชื่อว่าเพลินทุกข์
9 ความเกิดและความดับทุกข์..ความเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ความปรากฏแห่งรูป นี้เป็นความเกิดแห่งทุกข์
10 ทุกข์ และ มูลเหตุแห่งทุกข์ ก็ทุกข์เป็นไฉน? ทุกข์คือรูป ทุกข์คือเวทนา สัญญา..นี้เรียกว่าทุกข์
11 ความสลาย และไม่สลายแห่งทุกข์ รูป เป็นภาวะสลาย.. ความดับแห่งรูปเป็นภาวะไม่สลาย
1533  
1 การละขันธ์ ๕ อันไม่ใช่ของใคร รูปไม่ใช่ของเธอ เธอจงละเสีย รูปอันละได้แล้ว จักเป็นประโยชน์ เกื้อกูลเพื่อสุข เพราะสิ่งนั้นไม่ใช่ตน
2 การละขันธ์ ๕ อันไม่ใช่ของใคร สิ่งใดไม่ใช่ของเธอ เธอจงละเสีย รูปไม่ใช่ของเธอ เธอจงละเสีย
3 เหตุได้ชื่อว่าเป็นผู้กำหนัดขัดเคืองลุ่มหลง บุคคลย่อมครุ่นคิดถึงสิ่งใด ย่อมถึงการนับเพราะสิ่งนั้น
4 เหตุได้ชื่อว่าเป็นผู้กำหนัดขัดเคือง บุคคลครุ่นคิดถึงสิ่งใด ย่อมหมกมุ่นสิ่งนั้น
5 ความเป็นอนิจจังแห่งขันธ์ ๕ ในสามกาล.. ความเกิดขึ้น ความเสื่อม ความเป็นอย่างอื่น แห่ง รูป เวทนา สัญญา สังขาร ... ปรากฎ
6 ความเป็นอนิจจังแห่งขันธ์ ๕ ในสามกาล รูปที่ล่วงไปแล้ว ดับแล้วความบังเกิดขึ้น ความเสื่อมความเป็นอย่างอื่นแห่งรูปนั้น ปรากฏแล้ว
7 ความหน่ายในขันธ์ ๕ เป็นผู้มากด้วยความเบื่อหน่ายในรูป ย่อมกำหนดรู้รูป ย่อมหลุดพ้น จากรูป.. ย่อมหลุดพ้นจากทุกข์
8 การพิจารณา เห็นอนิจจังในขันธ์ ๕ พึงพิจารณาเห็นความไม่เที่ยงในรูป ย่อมกำหนดรู้รูป ย่อม หลุดพ้นจากรูป ..ย่อมหลุดพ้นจากทุกข์
9 การพิจารณาเห็นทุกข์ในขันธ์ ๕ พึงพิจารณาเห็นทุกข์ในรูป ย่อมกำหนดรู้รูป ย่อมหลุดพ้นจากรูป .. ย่อมหลุดพ้นจากทุกข์
10 การพิจารณา เห็นอนัตตาในขันธ์ ๘ พึงพิจารณาเห็นอนัตตาในรูป ย่อมกำหนดรู้รูป ย่อมหลุดพ้น จากรูป.. ย่อมหลุดพ้นจากทุกข์
1534  
1 ว่าด้วยการพึ่งตนพึ่งธรรม ปุถุชนผู้มิได้สดับ ไม่ได้เห็นพระอริยเจ้า ไม่ฉลาดในธรรมของ พระอริยเจ้า ย่อมตามเห็นรูปโดยความเป็นตน
2 ว่าด้วยข้อปฏิบัติเพื่อความเกิดและความดับสักกายทิฏฐิ ปุถุชนผู้ได้สดับ ได้เห็นพระอริยเจ้า ย่อมไม่ตามเห็นรูปโดยความเป็นตน
3 ความเป็นไตรลักษณ์แห่งขันธ์ ๕ ..รูปไม่เที่ยง สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์.. นั่นไม่ใช่ของเรา.. เห็นอยู่อย่างนี้ จิตย่อมคลายกำหนัด
4 ความเป็นไตรลักษณ์แห่งขันธ์ ๕ รูปไม่เที่ยง สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์ สิ่งใดเป็นทุกข์ ... เห็นอยู่อย่างนี้ ทิฐิ ย่อมไม่มี
5 การพิจารณาเห็นอุปาทานขันธ์ ๕ ..ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ ไม่ได้รับการแนะนำในสัปปุริสธรรม ย่อมตามเห็นรูปโดยความเป็นตน…
6 ขันธ์ ๕ เป็นไฉนขันธ์ ..รูปที่เป็นอดีต อนาคต ปัจจุบัน เป็นภายในหรือภายนอก หยาบหรือละเอียด นี้เรียกว่า รูปขันธ์
  6.1 อุปาทานขันธ์ ๕ เป็นไฉน ..รูปที่เป็นอดีต อนาคต ปัจจุบัน เป็นภายในหรือภายนอก ที่เป็นไปกับด้วยอาสวะ เป็นปัจจัยแก่อุปาทาน
7 ว่าด้วยขันธ์ ๕ มิใช่ของเรา
8 ผู้ควรยกย่องและไม่ควรยกย่อง ภิกษุไม่ทราบชัดรูป เหตุเกิด ความดับ และข้อปฏิบัติ เราไม่ยกย่องว่าเป็นสมณะ
9 การสิ้นความยินดีเป็นเหตุหลุดพ้นจากทุกข์ ภิกษุเห็นรูปอันไม่เที่ยงนั่นแหละ ว่าไม่เที่ยง ความเห็นของเธอนั้นเป็น สัมมาทิฏฐิ
10 การสิ้นความยินดีเป็นเหตุหลุดพ้นจากทุกข์ พิจารณาเห็นความไม่เที่ยงแห่งรูป ตามความเป็นจริง ย่อมเบื่อหน่าย…ย่อมหลุดพ้น
 
  7) พระผู้มีพระภาคให้พระสารีบุตร แสดงธรรมแก่ภิกษุหมู่ใหญ่ ประมาณ 500 รูป
1121 สังคีติสูตร พระสารีบุตรแสดงธรรมแทนพระพุทธเจ้าให้กับภิกษุ 500 ที่แคว้นมัลละ เรื่องธรรมที่มีประเภทละ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ..๑๐
1122 ธรรมมีประเภทละ ๑ ธรรมมีประเภทละ ๒ นาม - รูป/อวิชชา - ภวตัณหา/ ภวทิฐิ - วิภวทิฐิ/ความไม่ละอาย - ความไม่เกรงกลัว
1123

ธรรมมีประเภทละ ๓ (60เรื่อง) อกุศลมูล-กุศลมูล๓อย่าง,ทุจริต-สุจริต๓,อกุศลวิตก-กุศล, อกุศลสังกัปปะ-กุศล,ธาตุอีก๓, ตัณหา๓

1124 ธรรมมีประเภทละ ๔ (50 เรื่อง) ธาตุ ๔ อย่าง.. อาหาร๔ ..วิญญาณฐิติ ๔ ..ธรรมขันธ์ ๔.. กรรม ๔ ..การก้าวลงสู่ครรภ์ ๔ อย่าง
1125 ธรรมมีประเภทละ ๕ (26 เรื่อง) ขันธ์ ๕ .อุปาทานขันธ์ ๕ ..กามคุณ ๕..คติ ๕ มัจฉริยะ ๕ นีวรณ์ ๕ สิกขาบท ๕ (ศีล๕)
1126 ธรรมมีประเภทละ ๖ (22 เรื่อง) อายตนะภายใน ๖ ภายนอก ๖.. วิญญาณ๖ ผัสสะ๖ เวทนา๖ สัญญา๖ สัญเจตนา ๖ ตัณหา๖ ธาตุ ๖
1127 ธรรมมีประเภทละ ๗ (14 เรื่อง) อริยทรัพย์ ๗ อย่างโพชฌงค์บริขารของสมาธิ อสัทธรรม สัทธรรม สัปปุริสธรรม นิทเทสวัตถุ สัญญา
1128 ธรรมมีประเภทละ ๘ (8 เรื่อง) มิจฉัตตะ ๘ สัมมัตตะ ทักขิเณยยบุคคล กุสีตวัตถุ๘ อารัพภวัตถุ อย่างทานวัตถุ ทานุปบัติ โลกธรรม
1129 ธรรมมีประเภทละ ๙ (6 เรื่อง) อาฆาตวัตถุ ๙ อาฆาตปฏิวินัย สัตตาวาส อนุปุพพวิหาร อนุปุพพนิโรธ
1130 ธรรมมีประเภทละ ๑๐ (6 เรื่อง) นาถกรณธรรม๑๐ กสิณายตนะ๑๐ อกุศลกรรมบถ๑๐ กุศลกรรมบถ๑๐ อริยวาส๑๐ อเสกขธรรม ๑๐
 
  8) ธรรมที่มีอุปาระมาก (แสดงธรรมีกถาโดยพระสารีบุตร)
1131 ธรรมอย่างหนึ่ง มีอุปการะมาก (พระสารีบุตรแสดงธรรมให้กับภิกษุ ๕๐๐ รูป) -ทสุตตรสูตร
1132 ธรรม ๒ อย่าง มีอุปการะมาก (พระสารีบุตรแสดงธรรมให้กับภิกษุ ๕๐๐ รูป) - ทสุตตรสูตร
1133 ธรรม ๓ อย่าง มีอุปการะมาก (พระสารีบุตรแสดงธรรมให้กับภิกษุ ๕๐๐ รูป) - ทสุตตรสูตร
1134 ธรรม ๔ อย่าง มีอุปการะมาก (พระสารีบุตรแสดงธรรมให้กับภิกษุ ๕๐๐ รูป) - ทสุตตรสูตร
1135 ธรรม ๕ อย่าง มีอุปการะมาก (พระสารีบุตรแสดงธรรมให้กับภิกษุ ๕๐๐ รูป) - ทสุตตรสูตร
1136 ธรรม ๖ อย่าง มีอุปการะมาก (พระสารีบุตรแสดงธรรมให้กับภิกษุ ๕๐๐ รูป) - ทสุตตรสูตร
1137 ธรรม ๗ อย่าง มีอุปการะมาก (พระสารีบุตรแสดงธรรมให้กับภิกษุ ๕๐๐ รูป) - ทสุตตรสูตร
1138 ธรรม ๘ อย่าง มีอุปการะมาก (พระสารีบุตรแสดงธรรมให้กับภิกษุ ๕๐๐ รูป) - ทสุตตรสูตร
1139 ธรรม ๙ อย่าง มีอุปการะมาก (พระสารีบุตรแสดงธรรมให้กับภิกษุ ๕๐๐ รูป) - ทสุตตรสูตร
1140 ธรรม ๑๐ อย่าง มีอุปการะมาก (พระสารีบุตรแสดงธรรมให้กับภิกษุ ๕๐๐ รูป) - ทสุตตรสูตร
 
  9) บาลีแห่งเอกธรรม วรรค ๑ - ๑๑
1150 บาลีแห่งเอกธรรม วรรค ๑ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสของสตรี.... ย่อมครอบงำจิตของบุรุษ
1151 บาลีแห่งเอกธรรม วรรค ๒ เราย่อมไม่เล็งเห็นธรรมอื่นแม้อย่างหนึ่ง ที่จะเป็นเหตุให้ กามฉันทะ ที่ยังไม่เกิด เกิดขึ้น
1152 บาลีแห่งเอกธรรม วรรค ๓ เราย่อมไม่เล็งเห็นธรรมอื่นแม้อย่างหนึ่ง ที่ไม่อบรมแล้ว ย่อมไม่ควรแก่การงาน
1153 บาลีแห่งเอกธรรม วรรค ๔ เราย่อมไม่เล็งเห็นธรรมอื่นแม้อย่างหนึ่ง ที่ไม่ฝึกแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อมิใช่ประโยชน์ อย่างใหญ่
1154 บาลีแห่งเอกธรรม วรรค ๕ เดือยข้าวสาลี ข้าวยวะที่ตั้งไว้ผิด จักทำลายมือและเท้า เปรียบได้คืออวิชชา ที่ต้องทำลาย
1155 บาลีแห่งเอกธรรม วรรค ๖ จิตนี้ผุดผ่อง แต่จิตเศร้าหมอง เป็นอุปกิเลสที่จรมา ผู้ไม่ได้สดับย่อมเห็นจิตนั้นตามความเป็นจริง
1156 บาลีแห่งเอกธรรม วรรค ๗ เมื่อเป็นผู้ปรารภความเพียรกุศลธรรมที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น อกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้วย่อมเสื่อมไป
1157 บาลีแห่งเอกธรรม วรรค ๘ เมื่อบุคคลมีมิตรดี กุศลธรรม ที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น อกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมเสื่อมไป
1158 บาลีแห่งเอกธรรม วรรค ๙ ความเจริญด้วยยศมีประมาณน้อย ความเจริญ ด้วยปัญญา เลิศกว่าความเจริญทั้งหลาย
1159 บาลีแห่งเอกธรรม วรรค ๑๐ ความประมาท ย่อมเป็นไปเพื่อมิใช่ประโยชน์อย่างใหญ่
1160 บาลีแห่งเอกธรรม วรรค ๑๑ ภิกษุแสดง อธรรมว่า ธรรม ย่อมประสบบาปเป็นอันมาก..แสดง ธรรมว่า ธรรม ย่อมประสบบุญ
 
  10) ปฏิปทา ๔ ประการ
1227 ปฏิปทา ๔ ประการ (นัยยะที่ ๑) ราคะกล้า โทษะกล้า โมหะกล้า
1228 ปฏิปทา ๔ ประการ (นัยยะที่ ๒) พิจารณาเห็นในกายว่าไม่งาม
1229 ปฏิปทา ๔ ประการ (นัยยะที่ ๓) บุคคลบางคนในโลกนี้ เขาด่า ย่อมด่าตอบ เขาขึ้งโกรธ ย่อมขึ้งโกรธตอบ
1230 ปฏิปทา ๔ ประการ (นัยยะที่ ๔) ผู้ไม่อดทนต่อหนาว ร้อน หิว ระหาย ต่อสัมผัสแห่งเหลือบ ยุง ลมแดด
1231 ปฏิปทา ๔ ประการ พระโมคใช้วิธีทุกขาปฏิปทาขิปปาภิญญา (ปฏิบัติลำบากแต่รู้เร็ว) พระสารีบุตร สุขาปฏิปทา (ปฏิบัติสะดวกรู้ได้เร็ว)
 
  11) อุปาลิวาทสูตร เรื่องทีฆตปัสสีนิครนถ์ (เรื่องนิครนถ์ โต้วาทะเรื่องกรรมทางกาย)
1232 กรรม ๓ ของนิครนถ์นาฏบุตร (ลัทธินิครนถ์บัญญัติว่ากรรมทางกาย หรือ กายทัณฑะ มีโทษมากกว่า วจีกรรมและมโนกรรม)
1233 พระผู้มีพระภาคทรงย้อนถามปัญหากรรม ๓ (กายทัณฑะ วจีทัณฑะ มโนทัณฑะ ) ทรงยกอุปมาขึ้นมาแสดง 6 นัยยะ
1234 อุบาลีคฤบดีแสดงตนเป็นอุบาสก อุบาลีแสดงตนเป็นอุบาสก (ถึง 3 ครั้ง) ข้าพระพุทธเจ้านี้ขอถึงพระผู้มีพระภาค พระธรรม พระสงฆ์
1235 ทรงแสดงอนุบุพพิกถา 1.ทานกถา- ศีลกถา- สัคคกถา 2.โทษของกาม-เนกขัมมะ 3. อริยสัจสี่ 4.กฎอิทัปปัจยตา
1236 ห้ามพวกเดียรถีย์เข้าบ้าน... เพราะอุบาลีคฤหบดี เป็นสมณะของพระสมณะโคดมแล้ว
1237 อุบาลีคฤหบดี ประกาศตนเป็นสาวกของสมณะโคดม หลังนิครน์ไดคำประกาศ้ฟังแล้ว เลือดก็ได้พุ่งออกจากปากนิครนถ์
1238 การทำกรรมทางใจ มีโทษมากที่สุด ตรัสกับ ทีฆตปัสสีนิครนถ์
 
  12) สัมปทา ๓ อย่าง ความสะอาด ๓ อย่าง
1256 1) สัมปทา ๓ อย่าง เป็นไฉน คือศีลสัมปทา จิตตสัมปทา ทิฏฐิสัมปทา
2) สัมปทา ๓ อย่าง เป็นไฉน คือ กัมมันตสัมปทา อาชีวสัมปทา ทิฏฐิสัมปทา
3) ความสะอาด ๓ อย่าง เป็นไฉน คือ กายโสเจยยความ สะอาดกาย วจีโสเจยยความสะอาดวาจา มโนโสเจยยความสะอาดใจ
4) ความสะอาดทางใจ (มโนโสเจยย) กามฉันทะมีในภายในก็รู้ว่ากามฉันทะของเรามีในภายใน หรือกามฉันทะ ไม่มี ในภายในก็รู้ว่า
 
  13) การสังคายนาพุทธศาสนาครั้งที่ 1
1283 การสังคายนาพุทธศาสนาครั้งที่ 1 มีพระมหากัสสป เป็นพระธาน (ข้อมูลชุด1/3)
1284 การสังคายนาพุทธศาสนาครั้งที่ 1 มีพระมหากัสสป เป็นพระธาน (ข้อมูลชุด2/3)
1285 การสังคายนาพุทธศาสนาครั้งที่ 1 มีพระมหากัสสป เป็นพระธาน (ข้อมูลชุด3/3)
 
 

14) รวมเรื่องมารผู้มีบาป ทั้งมารที่เป็นสัตว์ และ มารที่เป็นเรื่องอุปมา

1291 1) อานนท์ถูกมารดลใจ ขณะอยู่ต่อหน้าพระผู้มีพระภาค
2) มารขอให้พระผู้มีพระภาค จงปรินิพพาน เสียในบัดนี้เถิด
3) ทางไม่ปลอดภัยคือ ทางของมารผู้มีบาป มรรค๘ คือทางปลอดภัย
4) สถานที่ซึ่งมารไปไม่ถึง คือการกำจัดขันธ์ทั้ง ๕ คือตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
5) ป่าใหญ่มีมารที่เป็นสัตว์ดุร้าย การทำสมาธิ จะตัดการมองเห็นของมาร
6) การพิจารณาเห็นความเกิด-ดับของขันธ์ ๕ คือที่ๆ มารไปไม่ถึง
7) ตบะอื่นไม่ประกอบด้วยประโยชน์ มรรค ๘ คือความบริสุทธิ์อันยอดเยี่ยม
8) มารแปลงกายเป็นพระยาช้างใหญ่ เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า
9) ทรงตรัสกับมารว่า เราเป็นผู้พ้นแล้วจากบ่วงของมาร
 
1292 10) ทรงทำลายเครื่องผูกของมาร
11) มารแปลงร่างเป็นพญางูใหญ่ แต่ไม่อาจทำร้ายผู้ทำลายอุปธิ (ขันธ์๕)ได้
12) มารกล่าวหาว่าพระผู้มีพระภาคนอนตื่นสาย
13) ทรงตรัสกับมารว่า คนมีบุตรย่อมเศร้าโศกเพราะบุตร คนมีโค ก็ย่อมเศร้าโศกเพราะโค
14) ทรงตรัสกับมารว่า มนุษย์มีอายุน้อย คนดีควรดูหมิ่นอายุนั้นเสีย
15) ทรงตรัสกับมารว่า วันคืนย่อมผ่านพ้นไป อายุที่เหลืออยู่ควรทำแต่กุศล
16) มารกลิ้งหิน เข้าใกล้พระผู้มีพระภาค แต่ไม่ทรงหวั่นไหว
17) มารทูลถาม ท่านเป็นผู้ชนะหรือ จึงบันลือสีหนาท ดุจราชสีห์
18) มารกล่าวว่า พระผู้มีพระภาคนอนด้วยความเขลา คิดแต่กาพย์กลอน(ธรรมะ)
19) มารทูลถามพระพุทธเจ้าว่า พร่ำสอนผู้อื่นด้วยสิ่งใด
20) มารจะจับบ่วงใจพระผู้มีพระภาค แต่ทรงละความพอใจในขันธ์๕ เสียแล้ว
21) มารแปลงร่างเป็นโค ทำลายบาตรของภิกษุ
22) มารเข้าใกล้พระผู้มีพระภาค ร้องเสียงดังดุจแผ่นดินจะถล่ม
 
1293 23) มารดลใจชาวบ้านไม่ไห้ใส่บาตรพระผู้มีพระภาค
24) มารแปลงร่างเป็นชาวนาแบกคันไถ เข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาค
25) มาร ขอพระผู้มีพระภาค จงทรงเสวยรัชสมบัติ เถิด
26) มารแปลงร่างเป็นพราหมณ์ เข้าพบภิกษุวัยหนุ่ม โน้มน้าวภิกษุเหล่านั้นให้บริโภคกาม
27) มารทราบวาระจิตของพระ สมิทธิ ว่า กำลังวิตก จึงแกล้งทำเสียงดัง
28) มารเข้าเฝ้าฯ แจ้งว่ามีภิกษุชื่อโคธิกะ เตรียมฆ่าตัวตาย
29) มารถามพระผู้มีพระภาคว่า ท่านถูกความโศกทับถมหรือ จึงได้มาอยู่ในป่า
30) มารแกล้งถาม อาฬวิกาภิกษุณี ว่าในโลกนี้ ไม่มีทางออกไปจากทุกข์ได้
 
1294 31) มาร แกล้งถามโสมาภิกษุณี ว่าสตรีมีปัญญาเพียงสองนิ้ว ไม่อาจถึงฐานะได้ (บรรลุ)
32) มาร แกล้งถามกิสาโคตมีภิกษุณี ว่าท่านมาอยู่ ป่าคนเดียว เพื่อแสวงหาบุรุษ หรือ
33) มาร แกล้งถามกิสาโคตมีภิกษุณี ว่าเธอเป็นสาวรูปงาม และฉันก็ยังหนุ่ม มาเถิด เรามาอภิรมย์กัน
34) มาร แกล้งถามอุบลวรรณาภิกษุณีว่า ท่านยืนอยู่คนเดียว เพราะกลัวนักเลงหรือ
35) มาร ถามจาลาภิกษุณี ดูกรภิกษุณี ท่านไม่ชอบใจอะไรหนอ
36) มาร ถามอุปจาลาภิกษุณี ท่านอยากเกิด หรือหนอ..
37) มาร ถามสีสุปจาลาภิกษุณี ท่านชอบใจทิฐิของใครหนอ
38) มาร ถามเสลาภิกษุณี รูปนี้ใครสร้าง ผู้สร้างรูปอยู่ที่ไหน รูปบังเกิดในที่ไหน รูปดับไปในที่ไหน
39) มาร ถามเสลาภิกษุณี รูปนี้ สัตว์นี้ ใครสร้าง ผู้สร้างสัตว์อยู่ที่ไหน สัตว์เกิดในที่ไหน ดับที่ไหน
 
1295 40) พระสมิทธิเข้าเฝ้า ด้วยเหตุเพียงเท่าไรหนอจึงเรียกว่า มาร มาร
41) ตา รูป จักขุวิญญาณ (ผัสสะ) ... ไม่มีอยู่ที่ใด ที่นั่นไม่มีมาร
42) ขันธ์ ๕ คือ มาร ตรัสกับราธะ จงพิจารณาขันธ์ ๕ ว่าเป็นมาร
43) ขันธ์ ๕ คือ มาร ตรัสกับราธะ จงพิจารณาเห็นว่ามารเป็นผู้ทำให้ตาย-ไม่ตาย
44) มารเข้าสิงกายพรหมปาริสัชชะ อย่ารุกรานพกพรหมเลย
45) มาร สิงกายพรหมปาริสัชชะ อย่าแสดงธรรมกับพวกบรรพชิตเลย
46) มาร ปลอมตัวเป็นคนแก่ ถือไม้เท้าเข้าหาภิกษุหนุ่ม แนะว่าควรเสพกาม
47) มาร เข้าหาพระสมิทธิ ทำเสียงดังปานแผ่นดินถล่ม พ.ตรัสว่า มารทำคาถาบังตา
 
   
   
   


หนังสือพุทธวจน ออนไลน์
90 90 90 90
พุทธประวัติ ขุมทรัพย์ อริยสัจ
ภาคต้น
อริยสัจ
ภาคปลาย
ปฏิจจ ปฐมธรรม ตถาคต อนาคามี อินทรีย์
สังวร
สัตว์
สัตตานัง
ทาน
สกทาคามี
ฆราวาส
ชั้นเลิศ
มรรควิธี
ที่ง่าย
อริยวินัย เดรัจฉานวิชา กรรม สมถะ
วิปัสสนา
โสดาบัน นา
ปานสติ
จิต มโน
วิญญาณ
ก้าวย่าง
อย่างพุทธะ
ตามรอย
ธรรม
ภพ ภูมิ
พุทธวจน
สาธยาย
ธรรม
สังโยชน์