|
|
1 |
สข สคารว สง สงฆ์ สงสัย ส่วน |
1307 |
สขสูตรที่ ๑ (มิตรที่พึงคบหา) ให้ของที่ให้ได้ยาก รับทำกิจที่ทำได้ยาก อดทนถ้อยคำที่อดใจได้ยาก บอกความลับของตนแก่เพื่อน .. |
642 |
สคารวสูตร สคารวรมานพเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า ทรงลำดับเหตุการณ์ตั้งแต่ก่อนตรัสรู้ จนถึงการตรัสรู้ |
120 |
สคารวสูตร นิวรณ์ ๕ (นิวรณ์เป็นปัจจัยให้มนต์ไม่แจ่มแจ้ง นิวรณ์มี ๕ ประการ เป็นเครื่องปิดกั้นหรือขัดขวางไม่ให้บรรลุความดี) |
S1-40 |
สงเคราะห์ผู้อื่นด้วยรู้อริยสัจ ทุกข์ เหตุเกิด เหตุดับ วิธีดับทุกข์ |
S2- 43 |
สงฆ์แตกกัน ผู้ที่ทำลายสงฆ์ให้แตกแยกกัน (แสดงสิ่งไม่ใช่เป็นธรรม..) |
266 |
สงฆ์แตกแยก สังฆเภท (ทำสงฆ์ให้แตกแยก ทำลายสงฆ์ แยกกันทำอุโบสถกรรม แยกกันทำปวารณากรรม) |
265 |
สงฆ์แตกแยก สังฆราชี (ความไม่ลงรอยในองค์สงฆ์ตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไป มีความเห็น การประพฤติปฏิบัติไม่เสมอกัน....) |
267 |
สงฆ์แตกแยก สังฆสามัคคี (ความพร้อมเพรียงในสงฆ์ ไม่วิวาทกัน ฟังปาติโมกข์ร่วมกัน มีวัตรปฏิบัติเสมอกัน ) |
258 |
สงสัยเคลือบแคลง เจโตขีลสูตร ยังสงสัยเคลือบแคลงใน พระศาสดา พระธรรม พระสงฆ์ สงสัยในสิกขา มีจิตโทสะ |
1269 |
สรภสูตร ปริพาชกสรภะ พูดในบริษัทว่า ธรรมของพระตถาคตเรารู้ทั่วถึงแล้ว พ.ถามกลับว่า ท่านรู้ทั่วถึงแล้วว่าอย่างไร สรภะนิ่งเสีย |
1226 |
สสังขารปรินิพพายี อสังขารปรินิพพายี นิพพานปัจจุบัน-หลังกายแตก |
1497 |
ส่วนสุด อะไรคือส่วนสุดที่๑ อะไรคือส่วนสุดที่๒ อะไรเป็นท่ามกลาง อะไรเป็นเครื่องร้อยรัด ผัสสะเป็นส่วนสุดที่๑ เหตุเกิดคือส่วนสุดที่๒ |
1316 |
ส่วนสองเป็นไฉน จักษุ-รูป/โสตะ-เสียง/ฆานะ- กลิ่น/ชิวหา- รส..วิญญาณเกิดขึ้นเพราะอาศัยส่วนสอง จักษุวิญญาณอาศัย จักษุ-รูป |
|
|
2 |
สตรี สตา สติ สติปัญญา |
253 |
สตรี- รูป เสียง กลิ่น รส โผฏ - ของสตรี ย่อมครอบงำบุรุษ... รูป เสียง กลิ่น รส โผฏ - ของบุรุษ ย่อมครอบงำสตรี |
1150 |
สตรี- รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสของสตรี.... ย่อมครอบงำจิตของบุรุษ |
155 |
สตาปารัทธสูตร สัตว์ย่อมคบกันด้วยธาตุ (สัตว์ทั้งหลายย่อมคบค้ากัน สมาคมกัน โดยธาตุคนเลวย่อมสมาคมกับคนเลว) |
S4- 58 |
สติ กับ สัมปชัญญะ ..ภิกษุทั้งหลาย ! ภิกษุ พึงเป็นผู้มีสติอยู่ อย่างมีสัมปชัญญะ |
S5- 104 |
สติ อยู่ส่วนไหนของขันธ์ ๕... ปัญญา สติ กับนามรูปดับ เพราะวิญญาณดับ |
285 |
สติ-ปัญญา ดับเมื่อใด อชิตสูตร (สติและปัญญา ดับไปเมื่อใด ดับไปเมื่อวิญญาณดับ) |
|
|
3 |
สติปัฎฐาน๔ สติปัฏฐานสูตร สติสัมโพชฌงค์ |
S2- 68 |
สติปัฎฐาน ๔ ที่เที่ยวของจิต (สติปัฏฐาน4 กาย เวทนา จิต ธรรม) |
167 |
สติปัฎฐาน ๔ การรู้ลมหายใจ ทำให้ - สติปัฎฐาน 4 บริบูรณ์... โพชฌงค์ 7 บริบูรณ์.. วิชาวิมุติ บริบูรณ์ |
455 |
สติปัฏฐาน ๔ ปัจฉิมคาถา สติปัฏฐาน๔ สัมมัป๔ อินทรีย์๕ พละ๕ โภชฌงค์๗ มรรค๘ ศีล-สมาธิ-ปัญญา-วิมุตติ มหาประเทศ ๔ |
721 |
สติปัฎฐาน ๔ กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน พิจารณาเห็นกายในกาย 6 นัยยะ เดินก็รู้ว่าเดิน รู้ทุกอิริยาบถ พิจารณาเห็นความไม่งาม |
722 |
สติปัฎฐาน ๔ เวทนานุปัสนาสติปัฏฐาน สุขเวทนาก็รู้ ทุกขเวทนา..อทุกขมสุข ก็รู้ นี้เรียกว่าเห็นเวทนาในเวทนา..อุเบกขาอิงอามิส |
723 |
สติปัฎฐาน ๔ จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน พิจารณาเห็นจิตในจิต...จิตมีราคะก็รู้ชัดว่าจิตมีราคะ มีโทสะก็รู้ชัดว่าจิตมีโทสะ.. |
724 |
สติปัฎฐาน ๔ ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน นีวรณบรรพ เมื่อกามฉันทะ..พยาบาท.. ถีนมิทธะ... อุทธัจจะ..วิจิกิจฉา.. มีอยู่ในจิต |
195 |
สติปัฏฐานสูตร ว่าด้วยการเจริญสติปัฏฐาน |
720 |
สติสัมโพชฌงค์ โพชฌงคบรรพ โพชฌงค์ ๗ อย่างไรเล่า? เมื่อสติสัมโพชฌงค์มีอยู่ภายในจิต ย่อมรู้ชัดว่าสติสัมโพชฌงค์มีอยู่ |
|
|
4 |
สถูป สนิ สม สมณะ สมัย |
1002 |
สถูป ถูปารหบุคคล บุคคล ๔ จำพวก ผู้สมควรสร้างสถูป เพื่อผู้เห็นจะยังจิตให้เลื่อมใส ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ |
707 |
สนิทานสูตร กาม พยาบาท เบียดเบียน : เนกขัมมะ อัพพยาปาท อวิหิงสา ... เปรียบเหมือนคบไม้ติดไฟ ต้องรีบละ รีบบรรเทา |
783 |
สนิทานสูตร.. ว่าด้วยธรรมที่เป็นต้นเหตุ |
1353 |
สภิยปริพาชก (ฉบับหลวง) ถามปัญหาเหล่าปริพาชก แล้วแก้ไม่ได้ จึงทูลถามพระผู้มีพระภาค |
1354 |
สภิยปริพาชก (มหาจุฬา) ถามปัญหาเหล่าปริพาชก แล้วแก้ไม่ได้ จึงทูลถามพระผู้มีพระภาค |
|
ผู้ฝึกตนแล้วเป็นอย่างไร: ผู้รู้เป็นอย่างไร: บุคคลผู้บรรลุอะไรว่าเป็นพราหมณ์: ผู้ใดล้างบาปได้หมดในโลก: ผู้ชนะเขต: ผู้หลุดจากกรรม |
1039 |
สมชีวิสูตร คู่บุพเพสันนิวาส สามีภรรยาหวังพบกันทั้งปัจจุบันและสัมปรายภพ ทั้งสองพึงมี ศรัทธา-ศีล-จาคะ-ปัญญา เสมอกัน |
S5- 87 |
สมณกิจ (สมณะต้องทำมีสามอย่าง ปฏิบัติในศีล ในจิต ในปัญญา) |
S1- 11 |
สมณสากยปุตติยะ ที่แท้จริง (มีความศรัทธาอย่างมั่นคง) |
156 |
สมณะ ๑ ๒ ๓ มีในธรรมวินัยนี้เท่านั้น (สมณะที่ 1 สมณะที่ 2 สมณะที่ 3 สมณะที่ 4) |
S5- 88 |
สมณะ ผล และ ประโยชน์ของความเป็นสมณะ (อริยอัฏฐังคิกมรรค หรือมรรค8 นี้อย่างเดียวเท่านั้น |
881 |
สมณะ ข้อปฏิบัติอันดียิ่งของสมณะ จูฬอัสสปุรสูตร ภิกษุมีอภิชฌามาก ยังละไม่ได้ มีจิตพยาบาท ยังไม่เรียกว่า สมณะ |
676 |
สมณะโคดม- โทณสูตร พระสมณะโคดม ไม่อภิวาท ไม่ลุกรับ หรือไม่เชื้อเชิญด้วยอาสนะ ซึ่งพราหมณ์ ผู้แก่เฒ่า |
S3- 35 |
สมณะ ผลประโยชน์ของความเป็นสมณะ (ได้ความเป็นอริยะบุคคล ได้ความสิ้นไปแห่งราคะ โทสะ โมหะ เข้าใจมรรค8 ) |
S4- 41 |
สมณะ ผู้ทำสมคำปฏิญาณว่า “สมณะ” (ปฏิญาณตัวเองว่าเป็นสมณะ เราจะประพฤติถือเอาด้วยดีซึ่งธรรมเหล่านั้น ) |
S4- 78 |
สมณะ ผู้ที่ถือว่าไม่ได้เป็นสมณะ (๗ นัยยะ) (ไม่รู้ขันธ์ห้า-อุปาทานขันธ์-ธาตุสี่-อินทรีย์หก-อินทรีย์ห้า-ไม่รู้ปฏิจจ-ไม่รู้อริยสัจจ์) |
1700 |
สมณะ ไม่รู้ธรรมเหล่าใด ไม่รู้เหตุเกิด ไม่รู้เหตุดับ และปฏิปทา ยังไม่นับว่าเป็นสมณะ |
S6- 144 |
สมถะ วิปัสสนา สมถะจิตมีอารมณ์เดียว (เอตทัคคะ)รู้ลมหายใจ หรือมีจิตอยู่กับกาย วิปัสสนาคือปัญญา เห็นการเกิด-ดับ |
1435 |
สมัย ที่ไม่สมควร กระทำความเพียร ๕ ประการ และสมัยที่สมควรกระทำความเพียร ๕ ประการ (สมยสูตร) |
252 |
สมัยใด พวกภิกษุเลวทรามมีกำลัง สมัยนั้น พวกภิกษุที่มีศีลเป็นที่รักย่อมถอยกำลัง |
|
|
5 |
สมาธิ |
S4- 50 |
สมาธิ ๙ ระดับ (รูปสัญญา4 อรุปสัญญา4 และสัญญาเวทยิตนิโรธ.. แต่ระดับ๙ ไม่ใช่สัตตาวาสของสัตว์) |
556 |
สมาธิ ๙ ระดับ : ธรรม ๙ อย่างที่ควรรู้ ควรทำให้แจ้งเป็นไฉน (อนุบุพพวิหาร ๙) สมาธิ ๙ ระดับ |
348 |
สมาธิ ๙ ระดับ เทวดาชั้นพรหม-อายุ (ระดับของสมาธิ ๙ ระดับ.. รูปสัญญา ฌาน 1-4 / อนาคามี 5 ระดับ/ อรูปสัญญา 5 ระดับ) |
271 |
สมาธิ ๙ ระดับ ..ฌาน 1 2 3 4 และ อรูปสัญญา อีก 5 ระดับ |
428 |
สมาธิ ๙ ระดับ ฌานสูตร สมาธิ ๙ ระดับ การสิ้นไปแห่งอาสวะ |
S3- 30 |
สมาธิ ๙ ระดับ-สงบในสมาธิ ๙ ระดับ (รูปสัญญา4 อรูปสัญญา 4 สัญญาเวทยิตนิโรธ) |
1106 |
สมาธิ ๙ ระดับ- อนุปุพพนิโรธสูตร ๙ ประการ ความดับไปตามลำดับ อกุศลย่อมดับในปฐมฌาน..วิตกวิจารฌานย่อมดับ |
1490 |
สมาธิขั้นสูง (โลกุตตรสมาธิ) (สมาธิสูตรที่๑ สูตรที่๒ สูตรที่๓ สูตรที่๔ ) สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือก็มีอยู่ |
1201 |
โลกุตตรสมาธิ สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือก็มีอยู่ |
1209 |
เจโตสมาธิ (อันไม่มีนิมิต) ที่สามารถเพิ่มผาสุกทางกาย |
1105 |
สมาธิ แบ่งตามความประณีตของธาตุ มี 2 ประเภท...1.สัมมาสมาธิอันเป็นอริยะ 2 สมาธิ 9 ระดับ และ สัญญาเวทยิต(ช่วงลำแสง) |
316 |
สมาธิ การเข้าสมาธิของสารีบุตร อนุปทวรรค (ตรัสชม สารีบุตรีปัญญามาก พร้อมแสดงการเข้าสมาธิ 9 ระดับ แต่ละขั้น) |
S5- 97 |
สมาธิ เจริญสมาธิชื่อว่ากำลังโน้มสู่นิพพาน (น้อมไป โน้มไป โอนไป..ย่อมเข้าถึงปฐมฌาน- ทุติย- ตติย- จตุตถฌาน) |
S5- 130 |
สมาธิ ทำแล้วง่วง-ทรงแสดงอุบายแก่พระโมคคัลลานะ พิจารณาธรรม..เดินจงกลม..ยอนหู...ลูบตา น้ำลูบหน้า..นอน |
369 |
สมาธิ แบบพระพุทธเจ้า มีสติหายใจเข้า มีสติหายใจออก
เธอย่อมทำการฝึกหัดศึกษาว่า “เราเป็นผู้รู้พร้อม เฉพาะซึ่งกาย |
S6- 134 |
สมาธิ และสังขาร (ตรัสกับนางวิสาขา) |
716 |
สมาธิ อาเนญช (อาเนญชสมาธิ อาเนญชสมาบัติ อาเนญชาภิสังขาร อาเนญชสัญญา) จากพระไตรปิฏก- คัดเฉพาะพุทธวจน |
1401 |
สมาธิ เจริญสมาธิเฉพาะส่วน เพื่อไม่ให้(อีกฝ่ายหนึ่ง) เห็นรูปทิพย์ |
1317 |
สมาธิสูตร / ปฏิสัลลีนสูตร เธอจงเจริญสมาธิเถิด ผู้มีจิตตั้งมั่นแล้วย่อมรู้ตามความเป็นจริงว่าจักษุ- รูปทั้งหลาย-จักษุวิญญาณไม่เที่ยง |
1631 |
สมาธิสังยุต ผู้เลิศในสมาธิ ผู้ได้ฌานที่ฉลาดในการตั้งจิตมั่น และฉลาดในการเข้าสมาธิ นับเป็นผู้เลิศ |
1202 |
สมาธิที่เป็นอสังขตมนสิการ (สมาธิที่มีนิพพานเป็นอารมณ์) สมาธิที่ไม่กระทำในใจ ซึ่งจักษุและรูป โสตะและเสียง ฆานะและกลิ่น |
1205 |
อานุภาพแห่งสมาธิ ภิกษุผู้มีมีจิตตั้งมั่น เป็นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ได้ตามที่เป็นจริง นี้เป็นทุกข์ นี้เป็นเหตุให้เกิดทุกข์ |
1207 |
สมาธิ.. แม้เพียงปฐมฌาน ก็ชื่อว่าเป็นที่หลบพ้นภัยจากมาร |
1214 |
รักษาโรคด้วยสมาธิ คือ สัญญา ๑๐ ประการ อนิจจสัญญา อนัตตสัญญา อสุภสัญญา อาทีนวสัญญา ปหานสัญญา วิราคสัญญา |
1215 |
ข้าศึกแห่งสมาธิ นิวรณ์ เครื่องกางกั้น ๕ อย่าง กามฉันทนิวรณ์ พยาปาทนิวรณ์ ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจกุกกุจจนิวรณ์ วิจิกิจฉานิวรณ์ |
1219 |
เสี้ยนหนามต่อสมาธิ ๑๐ อย่าง ความยินดีหมู่คณะ เป็นเสี้ยนหนามต่อการปลีกวิเวก การดูการเล่นเป็นเสี้ยนหนามต่อสังวรณ์อินทรีย์ |
|
|
|
|
6 |
สมุท สรี สวรรค์ สฬายตน สอุปา สะดุ้ง |
583 |
สมุททกสูตรที่ ๑๐ ฤาษีไปพบอสูร เพื่อขออภัยทานแต่อสูรไม่ให้บอกให้ได้แต่ภัยเพราะฤาษีคบเทวดา อสูรจึงถูกฤาษีแช่งจนตกใจ |
S9-025 |
สรีระตถาคต พระศาสดาไม่ให้อานนท์สนใจกับพระสรีระของพระองค์นัก ทรงให้จัดการเช่นเดียวกับพระเจ้าจักรพรรดิ์ |
387 |
สวรรค์ เทวดาแต่ละชั้น กามภพ รูปภพ อรูปภพ ภพภูมิเทวดามีทั้งหมด 26 ชั้น แบ่งเป็น กามภพ 6 รูปภพ 16 อรูปภพ 4 |
152 |
สวรรค์ เทวดาแต่ละชั้น เทียบเวลา กับโลกมนุษย์ (50 ปีมนุษย์คือ1คืนเทวดาจาตุมหาฯ. 1600 ปีมนุษย์ คือ1วัน1คืน |
349 |
สวรรค์ เทวดามี ๓ ชั้น กามภพ รูปภพ อรูปภพ มีอายุขัย และเสพกามต่างกัน |
348 |
สวรรค์ อายุของเทวดาชั้นพรหม (ระดับของสมาธิ ๙ ระดับ.. รูปสัญญา ฌาน 1-4 / อนาคามี 5 ระดับ/ อรูปสัญญา 5 ระดับ) |
288 |
สฬายตนวิภังคสูตร (จำแนกสฬายตนะโดยละเอียด) |
698 |
สฬายตนวิภังคสูตร (ฉบับมหาจุฬา) อายตนะภายใน๖..ภายนอก๖..วิญญาณ๖...ผัสสะ๖.. มโนปวิจาร๑๘.. สัตตบท ๓๖ (มีผัง) |
(288) |
สฬายตนวิภังคสูตร (ฉบับหลวง) (จำแนกสฬายตนะโดยละเอียด) |
599 |
สอุปาทิเสสนิพพานธาตุ (นิพพานธาตุ ๒ ประการ) สอุปาทิเสส กับ อนุปาทิเสส ความแตกต่างของอรหันต์ 2 ประเภท |
S13-24 |
สะดุ้งกลัวต่อความตาย -บุคคลที่สะดุ้งกลัวต่อความตาย และไม่สะดุ้งกลัวต่อความตาย เป็นไฉน |
523 |
สะดุ้งหวาดเสียวเพราะอุปาทาน อุมิคสาลาสูตรปาทานไม่สะดุ้งหวาดเสียว เพราะไม่มีอุปาทานในความแปรปรวนของ รูป เวทนา |
S12-30 |
ไม่สะดุ้ง เมื่อฟ้าผ่าไม่สะดุ้ง (อรหันต์ขีณาสพ+ม้าอาชาไนย) (ขีณาสพ+ช้างอาชาไนย) (ขีณาสพ+ราชสีห์) |
|
|
7 |
สักกะ สักกาย สักแต่ |
1645 |
รวมเรื่องท้าว สักกะจอมเทพ (หลายพระสูตร P1645 1646 4677 1678 1649 1650) |
1041 |
สักกะ คุณธรรม ๗ ประการ เพื่อความเป็นท้าวสักกะ (พระอินทร์) เลี้ยงมารดาบิดา อ่อนน้อม พูดอ่อนหวาน ละความตระหนี่ |
1041 |
สักกะ คุณธรรม ๗ ประการ เพื่อความเป็นท้าวสักกะ (พระอินทร์-ดาวดึงส์) เลี้ยงมารดาบิดา อ่อนน้อมพูดอ่อนหวานละความตระหนี่ |
592 |
สักกะ ท้าวสักกะจอมเทพเทวดาชั้นดาวดึงส์ ปลอมตัวเป็นชาวบ้านเพื่อรอตักบาตรกับ พระมหากัสสป |
592 |
สักกะ ปิณฑปาตสูตร ท้าวสักกะจอมเทวดาชั้นดาวดึงส์ ปลอมตัวเป็นชาวบ้านเพื่อรอตักบาตรกับ พระมหากัสสป |
S7-194 |
สักกะจอมเทพ กรรมที่ทำให้ไม่ตกต่ำ พระองค์เล่าอดีต ในชั้น อภัสรพรหม เป็นสักกะจอมเทพถึง 36 ครั้ง อันเนื่องจาก ทาน-ทมะ- |
584 |
สักกะจอมเทพ-ฤาษีมีกลิ่น ท้าวสักกะ และท้า วเวปจิตติจอมอสูร เข้าพบฤาษี.. ท้าวสักกะให้เกียรติฤาษีแต่ท้าวเวปไม่ให้เกียรติ |
413 |
สักกะ เทวสูตร ท้าวสักกะจอมเทพ อดีตเคยเป็นมนุษย์ เป็นผู้สมาทานวัตรบท 7 ประการ จึงได้มาเกิดมาเป็นเทวดาชั้นดาวดึงส์ |
1056 |
สักกายะทิฎฐิ : สักกายะคือ สักกายสมุทัยคือ สักกายนิโรธคือ สักกายนิโรธคามินี- สักกายะทิฐิมีได้อย่างไร อย่างไรจึงจะไม่มี |
S6- 135 |
สักกายทิฏฐิ (ตรัสกับนางวิสาขา) |
549 |
สักกายะทิฐิ รอบรู้ซึ่งสักกายะ และ เหตุเกิดแห่งสักกายทิฏฐิ รอบรู้สักกายสมุทัย นิโรธ นิโรธคามินี...รอบรู้เหตุเกิดสักกายทิฏฐิ |
196 |
สักแต่ว่า ตรัสแก่มาลุงกายบุตร ... โดยพิศดาร (นัยที่ ๒) |
623 |
สักแต่ว่า สังคัยหสูตรที่ ๒- มาลุงกยบุตร สักแต่ว่า รูปที่ได้เห็น เสียงที่ได้ฟัง อารมณ์ที่ได้ทราบ ธรรมที่รู้แจ้ง |
154 |
สักแต่ว่า... (นัยที่ ๑ ตรัสกับพาหิยะ เมื่อใดเธอเห็น รูป แล้ว สักว่าเห็น) (นัยที่ ๒-ตรัสกับมสงลุงกายบุตร) |
S1- 20 |
สักแต่ว่า... (นัยที่ ๑) ตรัสกับพาหิยะ |
|
|
8 |
สังกัป สังกิจ สังขต สังขิต สังขาร |
714 |
สังกัปปราคะ นิพเพธิกสูตร สังกัปปะราคะ คือกามของคนเรา |
240 |
สังกัปปะ (รวมเรื่องสัมกัปปะ สัมมาสังกัปปะ มิจฉาสังกัปปะ) |
208 |
สังกัปปะ กุศลวิตก หรือสัมมาสังกัปปะ (ความนึกคิดในส่วนละเอียด) |
770 |
สังกัปปะ ถอดคำสาธยายธรรมจากคลิป รูป (กามภพ รูปภพ อรูปภพ) สังกัปปะ |
129 |
สังกัปปะ อกุศลสังกัปปะ หรือมิจฉาสังกัปปะ ถอดคำพูด (กาม-กามธาตุ- กามสัญญา-กามสังกัปปะ-กามคุณ-กามภพ) |
269 |
สังกิจจชาดก (ขุมนรก : สังกิจจฤาษีแสดงธรรม และ อธรรม แก่พระเจ้าพรหมทัตต) |
S1- 15 |
สังขต อสังขต (ธรรมชาติที่ปรุงแต่งได้ และไม่ได้) |
182 |
สังขตธรรม และ อสังขตธรรม (ธรรมชาติที่ปรุงแต่งได้ และธรรมชาติที่ไม่มีอะไรปรุงแต่งได้) |
828 |
สังขิตตสูตร อุโบสถ ๘ ประการ วิตถตสูตร ผู้รักษาอุโบสถ 8 จะไปเกิดในชั้นเทวดากามภพชั้น1-6 |
S6- 132 |
สังขารมีเท่าใด (ตรัสกับนางวิสาขา) ลมหายใจออก-เข้าเป็นกายสังขาร วิตกและวิจารเป็นวจีสังขาร สัญญา-เวทนา เป็นจิตต |
1667 |
รวมเรื่องสังขารทั้งหลาย กายสังขาร วจีสังขาร มโนสังขาร : ก็สังขารเป็นไฉน สังขารทั้งหลายเป็นไฉน |
|
รวมเรื่อง กายสังขาร วจีสังขาร มโนสังขาร |
1089 |
๑) กรรมดำกรรมขาว ๔ (กุกกุโรวาทสูตร) ก็กรรมไม่ดำไม่ขาว มีวิบากไม่ดำไม่ขาว ย่อมเป็นไปเพื่อความ สิ้นกรรมนั้นเป็นไฉน |
1090 |
๒) เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย บุคคลย่อมปรุงแต่งสังขารทั้งหลาย.. เมื่อกาย วาจา ใจมีอยู่ สุขและทุกข์ ย่อมบังเกิดขึ้น |
1091 |
๓) สังขารสูตร บุคคลย่อมปรุงแต่งกายสังขาร วจีสังขาร มโนสังขาร ที่มีความเบียดเบียน ไม่เบียดเบียน ทั้งเบียดเบียนและไม่เบียด |
1092 |
๔) สัญเจตนิยวรรคที่ ๓ เมื่อกายมีอยู่ เมื่อวาจามีอยู่ เมื่อใจมีอยู่ สุขทุกข์ภายในย่อมเกิดขึ้น เพราะกายสัญเจตนา เป็นเหตุ ... |
1093 |
๕) กรรมวรรคที่ ๔ มรรควิธีเพื่อความสิ้นกรรม (ไม่มีทั้งกรรมดำ-ขาว) คือเจตนาเพื่อละกรรมดำ- อริยมรรคมีองค์แปด-โพชฌงค์ ๗ |
1412 |
สังขารทั้งหลาย ๕ นัยยะ ความเกิดแห่งสังขารเพราะอวิชชาเกิด.. นัยยะ 2 ลมหายใจเข้า-ออกคือกายสังขาร..วิตกวิจารเป็นวจีสังขาร |
|
|
9 |
สังคัย สังคาย สังคีต สังฆ สังโยชน์ สังวา |
622 |
สังคัยหสูตรที่ ๑ ผัสสายตนะ ๖ ..เฝ้าระวังผัสสะทาง ตา หู จมูก.. ผู้ไม่หวั่นไหว คือผู้ปราบราคะ-โทสะแล้ว ย่อมเข้าถึงนิพพาน |
623 |
สังคัยหสูตรที่ ๒ มาลุงกยบุตร สักแต่ว่า รูปที่ได้เห็น เสียงที่ได้ฟัง อารมณ์ที่ได้ทราบ ธรรมที่รู้แจ้ง เธอจักเป็นเพียงสักแต่ว่า |
472 |
สังคายนาพระไตรปิฎก ครั้งที่ ๑
ณ ถ้ำสัตตบรรณคูหา พระอุบาลีวิสัชนาพระวินัย พระอานนท์วิสัชนาพระธรรม |
241 |
สังคายนาพุทธศาสนา - วิกิพีเดีย (มีความไม่ลงรอยกันเรื่องมีการชำระอรรถกถาที่ศรีลังกา เป็นสาเหตุทำให้แตกเป็นนิกาย) |
1283 |
สังคายนาพุทธศาสนา ครั้งที่ ๑ มีพระมหากัสสป เป็นพระธาน (ข้อมูลชุด 1/3 ) |
1284 |
สังคายนาพุทธศาสนา ครั้งที่ ๑ มีพระมหากัสสป เป็นพระธาน (ข้อมูลชุด 2/3) |
1285 |
สังคายนาพุทธศาสนา ครั้งที่ ๑ มีพระมหากัสสป เป็นพระธาน (ข้อมูลชุด 3/3) |
1121 |
สังคีติสูตร พระสารีบุตรแสดงธรรมแทนพระพุทธเจ้าให้กับภิกษุ 500 ที่แคว้นมัลละ เรื่องธรรมที่มีประเภทละ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ..๑๐ |
266 |
สังฆเภท (ทำสงฆ์ให้แตกแยก ทำลายสงฆ์ แตกเป็นเหล่าเป็นพวก แยกกันทำอุโบสถกรรม แยกกันทำปวารณากรรม ) |
731 |
สังฆเภท (แสดงธรรมไม่ตรงคำสอนฯ) สังฆสามัคคี (แสดงธรรมได้ถูกต้อง) ผู้ทำสังฆเภท นรก1 กัป ช่วยเหลือไม่ได้ |
265 |
สังฆราชี (ความไม่ลงรอยในองค์สงฆ์ตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไป มีความเห็น การประพฤติปฏิบัติไม่เสมอกัน....) |
267 |
สังฆสามัคคี (ความพร้อมเพรียงในสงฆ์ ปรองดองไม่วิวาทกัน มีอุทเทส คือ ฟังปาติโมกข์ร่วมกัน มีวัตรปฏิบัติเสมอกัน ) |
1148 |
สังฆเภท-สังฆสามัคคี (แสดงสิ่ง ที่ตรงตามคำสอนฯเรียกว่า อาบัติ-สังเภท/และแสดงตรงกันข้ามเรียกว่า-อนาบัติ/สังฆสามัคคี) |
1557 |
สังฆสามัคคีมี 2 อย่าง คือ 1.สังฆสามัคคีเสียอรรถแต่ได้พยัญชนะ 2.ได้ทั้งอรรถได้ทั้งพยัญชนะ.. (ภิกษุเมืองโกสัมพีทะเลาะกัน) |
941 |
สังฆโสภณสูตร : บุคคลผู้ยังหมู่ให้งามคือภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาที่เฉียบแหลม ผู้แกล้วกล้า เป็นพหูสูต เป็นผู้ทรงธรรม |
610 |
สังโยชน์ ๗ (อนุสัย 7) ๑.กามราคะ ๒.ปฏิฆะ ๓.ทิฏฐิ ๔.วิจิกิจฉา ๕.มานะ ๖.ภวราคะ ๗.อวิชชา |
S7-218 |
สังโยชน์ ๗ ๑.กามราคะ ๒.ความโกรธ ๓.ความเห็นผิด ๔.ความลังเลสงสัย ๕.ความสำคัญตน ๖.ความกำหนัดในภพ ๗.อวิชชา |
318 |
สังโยชน์ ๑๐ (โอรัมภาคิยสังโยชน์ อุทธัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องต่ำ5 เบื้องสูง5 กิเลสเครื่องร้อยรัดจิตใจให้จมในวัฏฏะ) |
172 |
สังโยชน์ ๑๐ โอรัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องต่ำ 5 และ อุทธัมภาคิยสังโยชน์ สังโยชน์เบื้องสูง 5 |
S2- 56 |
สังโยชน์ ๑๐ (โอรัมภาคิยสังโยชน์ อุทธัมภาคิยสังโยชน์) |
688 |
สังโยชน์ ทุติยสังโยชนสูตร ความพอใจ ปัจจัยแห่งสังโยชน์ อุปมาน้ำมัน ประทีปและใส้ ที่ถูกเติมให้ลุกโพลง..ตัณหาเจริญ |
1141 |
สังโยชน์ในภายใน-นอก บุคคล ๓ จำพวก อาคามี และอนาคามี แสดงธรรมโดยพระสารีบุตรแต่มีเทวดาพรหมเข้าฟังจำนวนมาก |
647 |
สังโยชนสูตร สังโยชน์ กับ สังโยชนียธรรม (สังโยชน์ กับสิ่งอันเป็นที่ตั้งของสังโยชน์) |
1040 |
สังวาสสูตร ชายผี หญิงผี ..ชายผี หญิงเทวดา..ชายเทวดา หญิงผี ..ชายเทวดา หญิงเทวดา |
|
|
10 |
สังสาร สัจจ |
617 |
สังสารวัฏ การเกิดของสัตว์เหมือนซัดท่อนไม้.. การเกิดเป็นมนุษย์-เต่าตาบอด. กระดูกของมนุษย์ที่ตายไปแล้ว ใหญ่เท่าภูเขาเวล |
345 |
สังสารวัฏ นี้หาที่สุดเบื้องต้น-เบื้องปลายไม่ได้.. ทรงอุปมาน้ำที่เคยดึ่ม นมที่เคยดึ่ม น้ำตาที่เคยไหล มากกว่าน้ำในมหาสมุทรทั้ง4 |
517 |
สังสารวัฏ สงสารนี้ กำหนดที่สุดเบื้องต้นเบื้องปลายไม่ได้ อุปมามารดาของมารดาเรา มากกว่าท่อนไม้ ทั้งป่าที่เป็นมัดๆ ละ๔ นิ้ว |
726 |
สังสารวัฏ หาเบื้องต้นไม่ได้ เบื้องปลายไม่ได้ รวม ๑๐ พระสูตร รวมอุปมาเรื่องกัป ความนานของสังสารวัฏ |
S5- 103 |
สังสารวัฏนี้ หาที่สุดเบื้องต้น เบื้องปลายไม่ได้ |
1338 |
ความนานของสังสารวัฏ ความนานของกัป ทรงอุปมาไว้ 23 เรื่อง..สังสารวัฏนี้หาเบื้องต้นไม่ได้ น้ำนมมารดาที่สัตว์เคยดึ่มกินมากกว่า |
1602 |
สัจจะของพราหมณ์ 4 ประการ ชื่อว่ากล่าวจริง ไม่ใช่กล่าวเท็จ |
422 |
สัจจกนิครนถ์ โต้วาทะกับพระพุทธเจ้าจนยอมแพ้ (พระสูตรย่อ) |
423 |
สัจจกนิครนถ์ (อัคคิเวสสนะ) สนทนากับพระอัสสชิเถระ และได้โต้วาทะพระพุทธเจ้าจนเหงื่อตก (พระสูตรเต็ม) |
672 |
สัจจญาณ กิจจญาณ กตญาณ.. รอบ ปริวัฏฏ์สาม ญาณสาม (๑๒ อาการ) |
1222 |
สัจจสัญญา อันสุขุมยิ่งขึ้นไปตามลำดับในรูปสัญญาทั้งสี่ (ปฐมฌาน...จตุตถฌาน) และ ชั้นอรูปสัญญา(อากาสา...เนวสัญญา) |
709 |
สัจจบรรพ ทุกขอริยสัจเป็นไฉน.. ทุกขสมุทัย...ทุกขนิโรธอริยสัจ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็นไฉน |
|
|
11 |
สัญญา สัญโญชน์(สังโยชน์) สัตต สัตตา สัตติม |
S14-45 |
รายละเอียดของสัญญา : สัญญา๖ สัญญา ๗ สัญญา ๑๐ (แบบย่อ) |
1100 |
สัญญา ๖ พึงรู้จักสัญญา.. แดนเกิดของสัญญา ความต่างของสัญญา ความดับของสัญญา ทางดำเนินใหเถึงความดับไม่เหลือ |
540 |
สัญญามี ๖ หมวด สัญญาในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ในธรรม เพราะจำได้หมายรู้ จึงเรียกว่าสัญญา เช่นจำสีเขียว สีเหลือง ฯลฯ |
1165 |
สัญญา ๗ ประการ อสุภสัญญา มรณสัญญา อาหาเรปฏิกูล สัพพโลเกอนภิรต อนิจจสัญญา อนิจเจทุกขสัญญา ทุกเขอนัตตสัญญา |
469 |
สัญญา ๑๐ ประการ อาพาธสูตร คิริมานันทสูตร การหายอาพาธ ของพระคิริมานนท์ อานนท์แสดงธรรมสัญญา10ประการ |
157 |
สัญญา ๑๐ ประการ อาพาธสูตร- คิริมานันทสูตร สัญญา 10 ประการ ว่าด้วยการหาย อาพาธของพระคิริมานนท์ |
1300 |
สัญญาเครื่องเนิ่นช้า ธรรมบรรยายที่ไพเราะ เหตุแห่งการทะเลาะ (มธุปิณฑิกสูตร) สัญญาเครื่องเนิ่นช้าครอบงำบุรุษ ย่อมเพลิดเพลิน |
1081 |
สัญญาเวทยิตนิโรธ เมื่อกายแตกดับแล้วจะไปสู่ภพไหน (นิโรธสูตร) อุทายี เห็นแย้งกับ พระสารีบุตร |
1102 |
สัญญาเวทยิตนิโรธ ผู้เข้าถึงสัญญาเวทยิต แต่กายแตกดับก่อนบรรลุอรหันต์ แล้วจะไปเกิดที่ไหน (นิโรธสูตร) |
S7-217 |
สัญโญชน์และที่ตั้งแห่งสัญโญชน์. รูปเป็นที่ตั้งแห่งสัญโญชน์ ฉันทราคะใดเข้าไปมีอยู่ในรูปนั้น ฉันทราคะนั้นคือตัวสัญโญชน์ |
1117 |
สังโยชน์สูตร (บุคคล ๔ จำพวก) อริยะบุคคล ตั้งแต่สกทาคามีขึ้นไป ที่ยังละสังโยชน5 ได้-ไม่ได้, สร้างการเกิดและภพได้-ไม่ได้ |
782 |
สัตตธาตุสูตร.. ว่าด้วยธาตุ ๗ ประการ |
804 |
สัตตบท ๓๖ ทางไปแห่งจิต ๓๖ อย่าง อธัมมยตา การออกไปจากทางเดินแห่งจิต |
698 |
สัตตบท ๓๖ สฬายตนวิภังคสูตร (มหาจุฬา) อายตนะภายใน๖..นอก๖..วิญญาณ๖...ผัสสะ๖.. มโนปวิจาร๑๘.. สัตตบท ๓๖ (มีผัง) |
504 |
อสัตบุรุษ-สัตตบุรุษ เป็นไฉน? เป็นผู้มีความเห็นผิด ดำริผิด เจรจาผิด...ธรรม ๔ ประการของอสัตบุรุษ-สัตบุรุษ |
712 |
สัตบุรุษ วาจาของสัตตบุรุษ และ อสัตตบุรุษ สะใภ้ใหม่-สะใภ้เก่า ..ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ |
809 |
สัตบุรุษสัปปุริสธรรม และ อสัปปุริสธรรม |
504 |
สัตบุรุษ อสัตบุรุษ บุคคล ๔ จำพวก คนดี-ลามก,คนมีที่ติมาก-ติน้อย, ธรรมกถึก, ฟ้าร้องฝนไม่ตก, มะม่วงดิบ-สุก,คนเปล่าปิด |
654 |
สัตตาวาส ๙ ชั้น ที่อยู่ของสัตว์ (ไม่มีสัญญาเวทยิตนิโรธ) สัตว์ที่ยังไม่หลุดพ้น เมื่อกายแตกต้องกลับมาสู่สัตตาวาสทั้ง 9 เหล่านี้ |
1525 |
สัตตัฏฐานสูตร ว่าด้วยการรู้ขันธ์ ๕ โดยฐานะ..ฉลาดในฐานะ ๗ ประการ และเพ่งพินิจ ๓ ประการ |
706 |
สัตติมสูตร ธาตุ ๗ ประการ อาภาธาตุ สุภาธาตุ อากาสานัญจา วิญญา อากิญ เนวสัญญา สัญญาเวทยิต อาศัยการเกิดตามปฏิจจ |
|
|
12 |
สัตว์ สัตตานัง |
1597 |
สัตว์ 15 ชนิด ที่พระศาสดาทรงอุปมา เต่า งู จระเข้ นก สุนัข แมลงป่อง ตะขาบ พังพอน แมว โค ม้า ไก่ ราชสีห์ หนู ลิง |
S2- 71 |
สัตว์ ความหมายของคำว่า “สัตว์” (คือ ฉันทะ ราคะ นันทิ ตัณหา ที่มีอยู่ในขันธฺ๕) |
375 |
สัตว์ สัตตสูตร ว่าด้วยเหตุที่เรียกว่าสัตว์ คือความพอใจ ความกำหนัด ความเพลิดเพลิน ความทะยานอยาก ในรูป เกี่ยวข้องในรูป |
200 |
สัตตานัง สัตโต สัตตา สัตว์ : สิ้นตัณหา ก็นิพพาน |
617 |
สัตว์ การเกิดของสัตว์เหมือนซัดท่อนไม้.. การเกิดเป็นมนุษย์-เต่าตาบอด..กระดูกของมนุษย์ที่ตายไปแล้ว ใหญ่เท่าภูเขาเวล |
416 |
สัตว์ ๖ ชนิด ผู้ไม่ตั้งไว้ซึ่งกายคตาสติ ไม่อบรม.. ตา หู จมูก ลิ้น....ก็จะถูกฉุดให้ไปหาสิ่งที่พอใจ สิ่งที่ไม่น่าพอใจก็จะอึดอีด |
S5- 115 |
สัตว์ ต้องเวียนว่าย เพราะไม่เห็นอริยสัจจ |
831 |
สัตว์ ที่ตายจากมนุษย์ จะเกิดในมนุษย์-ในเทวดา มีน้อย แต่ไปเกิดในนรก เดรัจฉาน เปรตวิสัย มากกว่า |
616 |
สัตว์ อุปมาการเกิดของสัตว์ ในกัปที่ล่วงไปแล้ว..ความนานของกัป .. ภิกษุชาวปาวาสำเร็จอรหันต์พร้อมกัน 30 รูป |
S3- 38 |
สัตว์ ที่ไม่เคยเกี่ยวข้องกัน หาได้ยากในโลกนี้ (เพราะสงสารนี้ กำหนดที่สุดเบื้องต้น เบื้องปลายไม่ได้ ) |
S6- 159 |
สัตว์ ปัจจัยที่ทำให้สัตว์บางพวก ไม่ปรินิพพาน และ ปรินิพพาน ในทิฏฐธรรม? ความเพลิดเพลิน.. เมาหมกอยู่ในรูป |
155 |
สัตว์ย่อมคบกันด้วยธาตุ-สตาปารัทธสูตร (สัตว์ทั้งหลายย่อมคบค้ากัน สมาคมกัน โดยธาตุคนเลวย่อมสมาคมกับคนเลว ) |
711 |
สัตว์ย่อมคบค้ากัน ย่อมสมาคมกันโดยธาตุเทียว (หลายพระสูตร) แม้ในอดีต ในอนาคต และปัจจุบัน |
1099 |
สัตว์มีกายต่างกัน มีสัญญาต่างกัน พวกมนุษย์ เทพบางพวก วินิบาตบางพวก..สัตว์มีกายต่างกัน มีสัญญาอย่างเดียวกัน พวกเทพ |
1537 |
สัตว์เป็นผู้แล่นไป ท่องเที่ยวไป วิญญาณแล่นไป จิตแล่นไป (ตัวอย่างพระสูตรที่กล่าวถึง) |
|
|
13 |
สัทธรรม สัทธา สัน สัป สัพ |
S6- 179 |
สัทธรรม ความเสื่อมสูญ และ ความตั้งมั่น แห่งพระสัทธรรม ที่เกิดจากภิกษุ |
426 |
สัทธรรมปฏิรูปกสูตร เหตุแห่งการบัญญัติ สิกขาบท มีมาก สิกขาบท มีน้อย และเหตุปัจจัยที่ทำให้พระสัทธรรมเลือนหายไป |
S5- 116 |
สัทธานุสารี (ศรัทธานุสารี) ธัมมานุสารี (ธรรมานุสารี) (โดยสรุป) |
S2- 70 |
สัทธานุสารี ธัมมานุสารี (รู้ขันธ์5 ไม่เที่ยง รับประกันความตาย) |
409 |
สัทธานุสารี และ ธัมมานุสารีบุคคล (โดยละเอียด) พิจารณาความไม่เที่ยงของขันธ์ 5 |
1417 |
สัทธานุสารี และ ธัมมานุสารี ย่อมเห็นใน 10 แง่มุมนี้ ว่าเป็นของไม่เที่ยง มีความแปรปรวน (พร้อมผังประกอบ) |
945 |
สันโดษ ตามมีตามได้ - อริยวงศ์ ๔ อย่าง สันโดษด้วยจีวร ด้วยบิณฑบาต ด้วยเสนาสนะตามมีตามได้ เป็นผู้มีปหานะ - ฉันท์วันละหน |
1540 |
สันโดษ ตามมีตามได้ (อริยวงศ์ 4 ประการ) คุณสมบัติของบรรพชิต 1.สันโดษด้วยจีวร 2.บิณฑบาต 3.เสนาสนะ 4.เจริญภาวนา |
1282 |
สันติวรบท ทางสู่ความสงบอันประเสริฐ คือทำความรู้แจ้งในอายตนะ ๖ รู้เหตุเกิด - เหตุดับ รู้คุณ-รู้โทษ และอุบายเครื่องออก |
376 |
สัปปุริสธรรม ๗ ประการ ..ศรัทธาตถาคต เป้นผู้มีหิริ เป็นผู้มีโอตัปปะ เป็นพหูสูต เป็นผู้ปรารภความเพียร เป็นผู้มีสติ เป็นผู้มีปัญญา |
809 |
สัปปุริสธรรม และ อสัปปุริสธรรม สัปปุริสธรรม คือ สัตบุรุษ ทำการปฏิบัติแต่ภายในเท่านั้น ไม่ยกตน ไม่ข่มผู้อื่น ผู้มีสกุลสูง |
1777 |
สัปปสูตรที่ ๑ และ สัปปสูตรที่ ๒ โทษในงูเห่า-โทษในมาตุคาม ๒ นัยยะ |
1384 |
สัปปายสูตร การเพิกถอนซึ่งความสำคัญ สิ่งทั้งปวง ด้วยตัณหา มานะ และ ทิฐิ |
249 |
สัพพัญญูว่าด้วยเหตุให้สำเร็จเป็นพระสัพพัญญูพุทธเจ้า (ความปราถนาอันไม่มีประมาณของพระพุทธเจ้า...) |
1524 |
สัพพาสวสังวรสูตร ว่าด้วยการสังวรในอาสวะทั้งปวง มีหลายวิธี เพราะการเห็น การสังวร เสพเฉพาะ อดกลั้น เว้นรอบ บรรเทา อบรม |
|
|
14 |
สัมป สัมปรา สัมผัป สัมพาธ สัมม สัมมา |
421 |
สัมปชัญญะ ๑๙ ฐาน ฐานที่ตั้ง การยืน เดิน นั่ง นอน อย่างมีสัมปชัญญะ กระทำจิตภายใน ให้เป็นจิตเป็นที่หยุดพัก |
S6- 145 |
สัมปชัญญะ เดิน ยืน นั่ง นอน อย่างมีสัมปชัญญะ จิตน้อมไปเพื่อการเดิน ก็เดินด้วยการตั้งจิตว่า บาปอกุศลธรรมจักไม่ไหล |
355 |
สัมปรายะ(ภพหน้า) หลักดำรงชีพเพื่อประโยชน์สุข ให้ถึงพร้อมด้วย สัทธาสัมปทา- สีล- จาคะ- ปัญญา |
819 |
สัมผัปปลาวาท(เพ้อเจ้อ) ระดับพราหมณ์-ฤาษี ที่อ้างว่าทางปฏิบัติของตนไปเป็นสหายพรหมได้ แต่ทุกคนกลับไม่เคยเห็นพรหม |
729 |
สัมพาธสูตร ช่องว่างในที่คับแคบ สัมพาธสูตร (ฉบับมหาจุฬา) ... ปัญจาลสูตร (ฉบับหลวง) |
701 |
สัมมสสูตรที่ ๑ เมื่ออุปธิมี ชราและมรณะจึงมี
เมื่ออุปธิไม่มี ชราและมรณะก็ไม่มี เมื่อตัณหามี อุปธิจึงมี เมื่อตัณหาไม่มี อุปธิก็ไม่มี |
702 |
สัมมสสูตรที่ ๒ พระสารีบุตร สนทนากับพระโกฏฐิตะ อุปมา ไม้อ้อ ๒ กำ,ภิกษุธรรมกถึก ภิกษุผู้ประพฤติธรรมสมควรแก่ธรรม |
S3- 26 |
สัมมัปปธานสี่ หรือ ปธาน ๔ (ยับยั้งอกุศล เพียรสร้างกุศล) |
|
(สัมมา) |
1262 |
ผู้มีสัมมาทิฐิ เมื่อเกิดขึ้นในโลก ย่อมเป็นประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความสุขแก่ เทพยดาและมนุษย์ ทั้งหลาย |
810 |
สัมมาวาจา (เท็จ ส่อเสียด หยาบ เพ้อเจ้อ) และหลักวิธีการพูดที่เป็น อริยะ(ไม่เห็นว่าไม่เห็น) และ อนริยะ (คนพาล) |
813 |
สัมมาวาจา ข้อควรสรรเสริญหรือควรติเตียนของบุคคล 4จำพวก ติแต่ไม่สรรเสริญ สรรเสริญและไม่ติ ไม่ติไม่สรรเสริญ ติและสรรเสริญ |
814 |
สัมมาวาจา ไขความลับสัมมาวาจา ๔ ละมุสาวาท(พูดเท็จ) ละคำส่อเสียด หยาบ ไม่เสนาะหู เพ้อเจ้อ ไม่มีที่อ้างอิงไม่มีหลักฐาน |
812 |
สัมมาวาจา วจีกรรม ๓ สถาน ๑ เมื่อจะกระทำ(ไม่พึงกระทำ) ๒ เมื่อกระทำอยู่(เลิกกระทำ) ๓ กระทำแล้ว(พึงสังวระวังครั้งต่อไป) |
816 |
สัมมาวาจา วาจาของ สัตบุรุษ - อสัตบุรุษ และ วาจาสะใภ้ใหม่- สะใภ้เก่า |
817 |
สัมมาวาจา สัมมาวาจาขั้นสูงสุด วาจาใด จริง แท้ ด้วยประโยชน์ พึงใจของผู้อื่น ตถาคตย่อมเป็นผู้รู้จักกาละ เพื่อกล่าววาจานั้น |
818 |
สัมมาวาจา สัมมาวาจาชั้นสูงสุด (ระดับพระพุทธเจ้า) ไม่ทะเลาะวิวาทกับใครๆในโลก พร้อมทั้ง เทวโลก มารโลก พรหมโลก |
815 |
สัมมาวาจา สุภาษิตวาจา ๕ ประการ 1.ควรแก่กาล 2.คำสัจจ์จริง 3. อ่อนหวาน 4.ประกอบด้วยประโยชน์ ด้วยเมตตาจิต |
811 |
สัมมาวาจาโดยปริยายสองอย่าง แบบโลกิยะ(อาสวะ)เป็นส่วนแห่งบุญ มีอปุทิเป็นวิบาก และโลกุตตระ(ไม่มีอาสวะ) เป็นมรรค๘ |
208 |
สัมมาสังกัปปะ กุศลวิตก (ความนึกคิดในส่วนละเอียด) |
1429 |
สัมมาสมาธิ(อังคิกสูตร) ที่ประกอบด้วยองค์๕ บรรลุปฐมฌาน ๑ - ฌาน๔ และ แทงตลอดด้วยดี ซึ่ง ปัจจเวกขณนิมิต ด้วยปัญญา |
1643 |
สุเนตตะ (พระพุทธเจ้าในอดีต) เป็นผู้ยิ่งใหญ่ในมนุษย์และเทวดา ก็ไม่พ้นแก่เจ็บตาย |
|
|
|
|