|
|
พระสูตรชุดเต็ม ชุด 14 |
|
|
 |
|
1401 |
มหาลิสูตร มหาลิต้องการความเป็นทิพย์ ตรัสว่ามีธรรมอื่นที่ดีกว่าปราณีตกว่า คือได้เป็นโสดาบัน สกทา อนาคามี ทำให้แจ้งซึ่งวิมุตติ |
1402 |
สิ่งที่ตถาคตไม่พยากรณ์ ทิฏฐิว่าโลกไม่เที่ยง...โลกมีที่สิ้นสุด...ตถาคตภายหลังแต่ตายแล้ว ย่อมมีอีก...ย่อมไม่มีอีก |
1403 |
ลำดับแห่งความเป็นไป เพื่อจะได้รู้ซึ่งความเป็นจริง ๑๒ ประการ 1.ปลูกฝังศรัทธา ศรัทธาแล้ว ย่อมเข้าไปหา..เข้าไปนั่งใกล้ |
1404 |
จงหลีกเร้นแล้วจักรู้อริยสัจ จงเจริญสมาธิจักรู้อริยสัจตามเป็นจริง..เมื่อประพฤติถูกทางกิริยาที่ไปนิพพาน เบาเหมือนไม้ลอยตามน้ำ |
1405 |
อริยสัจสี่ หลากหลายนัยยะ คือคุณสมบัติของอริยะบุคคล ..ตถาคตก็เป็นอริยะ.. รู้อริยสัจแลกกับถูกแทงด้วยหอกวันละ 300 ครั้ง |
1406 |
อริยสัจสี่ ในรูปแบบต่างๆ.. นัยยะทั่วไป ปัญจุปาทานขันธ์ อายตนะภายในหก แสดงด้วยคำว่าอันตะ ด้วยสักกายะ ด้วยคำว่า โลก |
1407 |
เวทนาใน ฌาน ๑ - ฌาน ๔ |
1408 |
ทุติยปัณณาสก์ (ธรรมที่เป็นบาปอกุศล)... (ธรรม ๒ อย่าง) ...(คนพาล ๒ จำพวก บัณฑิต ๒ จำพวก) |
1409 |
นามกาย-นามรูป ถ้าตัณหา มิได้มี เพราะดับตัณหาเสียได้ การแสวงหา(ภพ)จะมีได้ไหม...ไม่ได้เลย พระเจ้าข้า |
1410 |
ผัง อริยะบุคคล ๔ จำพวก และคุณสมบัติ (โสดาบัน สกทาคามี อนาคามี อรหันต์) |
1411 |
พิธีปลงบาป แบบของสมณะพราหมณ์ และ แบบอริยสาวกของสมณโคดม |
1412 |
สังขารทั้งหลาย (๕นัยยะ) กายสังขาร วจีสังขาร จิตตสังขาร/ลมหายใจคือกายสังขาร วิตกวิจารคือวจีสังขาร สัญญาเวทนาคือ มโน |
1413 |
ขันธ์๕ เป็นอนัตตา / อัตตามี หรือ อัตตาไม่มี |
1414 |
ผู้ฉลาดในฐานะ ๗ ประการ ซึ่งขันธ์ ๕ รู้ชัด รูป เวทนา..ความเกิด-ความดับ ข้อปฏิบัติ คุณ-โทษ อุบายเครื่องออก |
1415 |
อบายมุข ๖ (ทางเสื่อมแห่งทรัพย์) ๑.การดื่มสุรา ๒.เที่ยวกลางคืน ๓.เที่ยวสถานบันเทิง ๔.เล่นการพนัน ๕.คบมิตรชั่ว ๖.เกียจคร้าน |
1416 |
การเกิด เป็นเหตุให้พบกับ ความทุกข์ .. เมื่อทารกเจริญวัย อิ่มเอิบด้วยกามคุณ ๕ ย่อมกำหนัดยินดี เสวยเวทนา ย่อมเพลิดเพลิน |
1417 |
สัทธานุสารี และ ธัมมานุสารีบุคคล 10 นัยยะ (โดยละเอียด) |
1418 |
รวมพระสูตร พระพุทธเจ้า กับเทวดา รวม ทั้งหมด 13 เรื่อง |
1419 |
มหาสติปัฏฐานสูตร หนทางนี้เป็นที่ไปอันเอก เพื่อความบริสุทธิ์ของเหล่าสัตว์ |
|
|
1420 |
กายคตาสติ (ชุด1) พระอานนท์สำเร็จเป็นพระอรหันต์ด้วย กายคตาสติ |
1421 |
กายคตาสติ (ชุด2) กายคตาสติ เจริญกระทำให้มากแล้วอย่างไร จึงมีผลมาก มีอานิสงส์มาก |
1422 |
กายคตาสติ (ชุด3) อวัสสุตสูตร อวัสสุตปริยาย และ อนวัสสุตปริยาย (แสดงธรรมโดยพระโมคคัลลานะ) |
1423 |
กายคตาสติ (ชุด4) ทุกขธรรมสูตร อสังวร เป็นผู้ไม่เข้าไปตั้งกายคตาสติ - สังวร เป็นผู้เข้าไปตั้งกายคตาสติ |
1424 |
กายคตาสติ (ชุด5) ฉัปปาณสูตร “เสาเขื่อน หรือเสาหลัก” นี้เป็นคำเรียกแทนชื่อแห่ง กายคตาสติ |
1425 |
กายคตาสติ (ชุด6) วังคีสเถรคาถา พระวังคีสเถระ เห็นสตรีแล้วเกิดความกำหนัด |
1426 |
กายคตาสติ (ชุด7) เป็นผู้คุ้มครองอินทรีย์ คือ กายคตาสติ แสดงโดยพระโมคคัลลานะ |
1427 |
กายคตาสติ (ชุด8) อานิสงฆ์ของ กายคตาสติ |
|
|
1428 |
ทีฆชาณุสูตร ธรรม ๔ ประการ
(และธรรม ๘ ประการ) เพื่อประโยชน์ เพื่อความสุขในปัจจุบัน |
1429 |
อังคิกสูตร การเจริญสัมมาสมาธิ ที่ประกอบด้วยองค์ ๕ |
1430 |
ทุติยสังคามวัตถุสูตรที่ ๕ พระเจ้ามคธฯ รบกับ พระเจ้าปเสนทิโกศล ผู้ฆ่าย่อมได้รับการฆ่าตอบ (พระสูตรนี้เป็นอรรถกถา) |
1431 |
อุปกิเลสสูตร อุปกิเลส ๕ ประการ กามฉันทะ พยาบาท ถิ่นมิทธะ อุทธัจจ วิจิกิจฉา (นิวรณ์๕) |
1432 |
ทุสสีลสูตร ธรรมของภิกษุ ผู้ถึงพร้อมด้วยศีล และธรรมของภิกษุ ผู้มีอุปนิสัยขาดแล้ว(วิบัติ) |
1433 |
สุมนสูตร (ความแตกต่างผู้ให้ กับ ผู้ไม่ให้) ด้วยเหตุ ๕ ประการ คือ เมื่อออกปากขอ ย่อมได้จีวรมาก เมื่อไม่ออกปากขอย่อมได้น้อย |
1434 |
จุนทิสูตร สิ่งที่เป็นเลิศ เป็นผู้ถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์เป็นสรณะ+ เว้นขาดจากศีล๕ |
1435 |
สมยสูตร สมัยที่ไม่สมควร กระทำความเพียร ๕ ประการ และสมัยที่สมควรกระทำความเพียร ๕ ประการ |
1436 |
นันทกสูตร ผู้บริบูรณ์ด้วยองค์ธรรม๔ ประการ (มีศรัทธา มีศีล ได้เจโตฯ เห็นแจ้งในธรรม) อานิสงส์ในการฟังธรรมตามกาล ๕ ประการ |
1437 |
เขมาเถรีสูตร พระเจ้าปเสนทิโกศล เสด็จไปสนทนาธรรมกับ พระเขมาภิกษุณี สัตว์เบื้องหน้าแต่ตายแล้ว ย่อมเกิดหรือหนอ |
1438 |
อายตนะภายใน ๖ เป็นทุกขอริยสัจ เป็นของร้อน เป็นของมืด ผัสสะ.. เวทนาเป็นของร้อน ร้อนเพราะไฟราคะ ไฟโทสะ ไฟโมหะ |
1439 |
ทวยตานุปัสสนาสูตร ภิกษุประมาณ ๖๐ รูป หลุดพ้นพร้อมๆกัน |
1440 |
ว่าด้วยอรัญญิกธุดงค์ เรื่องมารยาท และคุณสมบัติของพระป่า แสดงธรรมโดยพระสารีบุตร |
1441 |
วิมุตตายตนสูตร เหตุแห่งวิมุตติ 5 ประการ 1ศาสดาหรือภ.แสดงธรรม 2 ภ.แสดงธรรม 3 ภ.สาธยายธรรม 4ตรึกตาม 5สมาธินิมิต |
|
|
1442 |
1. อริยสัจสี่ รวบรวมจาก พระไตรปิฎกฉบับหลวง |
1443 |
2. อริยสัจสี่ รวบรวมจาก หนังสือพุทธวจน |
1444 |
3. อริยสัจสี่ รวบรวมจาก อริยสัจจจากพระโอษฐ์ |
1445 |
4. อริยสัจสี่ โดยสรุปมี ๖ นัยยะ |
|
|
1446 |
พระอาพาธโรคท้องร่วง (พระวินัย) ภิกษุท้องร่วง นอนจมกองมูตรคูถ รับสั่งให้อานนท์ไปตักน้ำมา แล้วทรงรดน้ำ ส่วนอานนท์ขัดสี |
1447 |
อนาคตสูตรที่ ๔ อนาคตภัยของพุทธศาสนา ภิกษุจักชอบจีวรดีงาม ชอบบิณฑบาต ชอบเสนาสนะ คลุกคลีภิกษุณีและอารามิกบุรุษ |
1448 |
ธรรมอันเป็นเครื่องสนุกสนานชอบใจของตถาคต คือ วิชชาและวิมุตติ..โพชฌงค์๗..สติปัฏฐาน๔.. สุจริต๓..อินทรีย์สังวร |
1449 |
พระสารีบุตร กับ พระมหาโกฏฐิตะ สนทนาเรื่องปฏิจจ ชรามรณะเป็นสิ่งที่บุคคลกระทำเองหรือหนอ?เรื่องต้นไม้อ้อสองกำพิงกัน |
1450 |
มาตุปุตติกสูตร มารดาย่อมไม่กำหนัดในบุตร และบุตรย่อมไม่กำหนัดในมารดา สตรีแม้ตายไปแล้วก็ยังครอบงำจิตของบุรุษได้ |
|
|
1451 |
(เวทนา1) สมาธิสูตร สุขสูตร ปหานสูตร ปาตาลสูตร ทัฏฐัพพสูตร พึงเห็นสุขเวทนาโดยความเป็นทุกข์ |
1452 |
(เวทนา2) สัลลัตถสูตร ผู้ไม่ได้สดับอันทุกขเวทนาถูกต้องแล้ว ย่อมเศร้าโศกร่ำไร ผู้ได้สดับย่อมเสวยเวทนาทางกายอย่างเดียว |
1453 |
(เวทนา3) เคลัญญสูตรที่ ๑ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุขมสุขเวทนา อาศัยกาย จึงเกิดขึ้น (กายไม่เที่ยง เป็นปัจจัยปรุงแต่ง) |
1454 |
(เวทนา4) เคลัญญสูตรที่ ๒ สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุขมสุขเวทนา อาศัยผัสสะจึงเกิดขึ้น (ผัสสะไม่เที่ยง เป็นปัจจัยปรุงแต่ง) |
1455 |
(เวทนา5) อนิจจสูตร ผัสสมูลกสูตร เวทนา ๓ นี้เกิดแต่ผัสสะ มีผัสสะเป็นปัจจัย ไม้สองอันเสียดสีกัน จึงเกิดไออุ่น จึงเกิดไฟ |
1456 |
(เวทนา6) รโหคตสูตร (ลำดับความดับแห่งสังขาร) เมื่อเข้าปฐมฌานวาจาย่อมดับ เข้าทุติยฌานวิตกวิจารดับ เข้าตติยฌานปีติดับ |
1457 |
(เวทนา7) วาตสูตรที่ ๑ เวทนาต่างชนิดย่อมเกิดขึ้นในกายนี้ เปรียบเหมือนลมที่พัดมาจากทิศต่างๆ ฉันใด |
1458 |
(เวทนา8) อานันทสูตรที่ ๑ เรื่องเวทนา ๓ เวทนามีเท่าไร … เวทนามี 3 สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา |
1459 |
(เวทนา9) ปัญจกังคสูตร สุขอื่นยิ่งกว่า ประณีตกว่ากามสุข ภิกษุสงัดจากกาม จากอกุศลธรรม เข้าปฐมฌาน มีวิตกวิจาร มีปีติและสุข |
1460 |
(เวทนา10) ภิกขุสูตร เรากล่าวเวทนา ๒ ก็มี เวทนา ๓ ก็มี เวทนา ๕ ก็มี เวทนา๖ ก็มี เวทนา ๑๘ เวทนา ๓๖ เวทนา ๑๐๘ ก็มี |
1461 |
(เวทนา11) สิวกสูตร สิวกปริพาชก เข้าไปเฝ้า ทูลถาม เวทนา สุข-ทุกข์ แต่ปางก่อน |
1462 |
(เวทนา12) อัฏฐสตปริยายสูตร เรากล่าวเวทนา ๒ ก็มี เวทนา ๓ ก็มี เวทนา ๑๘ ก็มี เวทนา ๓๖ ก็มี เวทนา ๑๐๘ ก็มี |
1463 |
(เวทนา13) ภิกขุสูตร ผัสสะเกิด เวทนาจึงเกิด ตัณหาเป็นเครื่องให้ถึงความเกิดขึ้นแห่งเวทนา มรรค ๘ เป็นปฏิปทา |
1464 |
(เวทนา14) สมณพราหมณสูตร นิรามิสสูตร สมณะหรือพราหมณ์ ย่อมรู้ความเกิด ความดับ คุณโทษ... ปีติมีอามิส คือกามคุณ ๕ |
1465 |
(เวทนา15) เวทนาเป็นทางมาแห่งอนุสัย...เมื่อสุขเวทนาถูกต้องแล้ว ย่อมเพลิดเพลิน เมื่อทุกขเวทนาถูกต้องแล้ว ย่อมเศร้าโศก |
|
|
1466 |
1.เรื่องอภิธรรม ผู้รู้อริยะสัจ ไม่จำเป็นต้องแตกฉานอภิธรรมและรวยลาภ (5 เล่มจากพระโอษฐ์) อุปมาม้าแกลบ 3 จำพวก |
1467 |
2.เรื่องอภิธรรม อัสสสูตรที่ ๑ ม้ากระจอก ๓ พวก บุรุษกระจอก ๓ พวก (ม้าแกลบ ม้าเทศ ม้าอาชาไนย) ฉบับหลวง[๕๘๐]+พุทธทาส |
1468 |
3.เรื่องอภิธรรม อัสสสูตรที่ ๒ (ม้าดี ๓ จำพวก บุรุษดี ๓ พวก) ฉบับหลวง [๕๘๑] |
1469 |
4.เรื่องอภิธรรม อัสสสูตรที่ ๓ (ม้าอาชาไนยตัวเจริญ ๓ พวก ผู้เจริญ ๓ พวก ) ฉบับหลวง [๕๘๒] |
1470 |
5.เรื่องอภิธรรม อนาคตสูตรที่ ๓ อนาคตภิกษุจะไม่อบรมกาย อบรมศีล อบรมจิต ปัญญา จะนำไปสู่ธรรมดำ(ฉบับหลวง[๗๙]+จุฬา) |
1471 |
6.เรื่องอภิธรรม กินติสูตร ว่าด้วยภิกษุคิดอย่างไรในพระพุทธเจ้า... โพธิปักขิยธรรม ๓๗ |
1472 |
7.เรื่องอภิธรรม อภิธรรมคืออะไร ถอดคลิปเสียงอภิธรรมคืออะไร โดยพุทธทาส/ อภิธรรม ธรรมอันยิ่ง พอจ.คึกฤทธิ์ วัดนาป่าพง |
1473 |
8.เรื่องอภิธรรม โคลิสสานิสูตร ว่าด้วยอรัญญิกธุดงค์ ภิกษุผู้สมาทานอรัญญิกธุดงค์ ควรทำความเพียรในอภิธรรม ในอภิวินัย |
1474 |
9.เรื่องอภิธรรม จากข้อมูลอื่น (วิกิพีเดีย/ tipitaka/ พจนานุกรมศาสน์ ปอ.ปยุตโต) พระอภิธรรมปิฎก ๔๒,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ ๑๒ เล่ม |
|
|
1475 |
ตถาคตเป็นครูของเทวดาและมนุษย์ เป็นผู้ไกลจากกิเลส รู้เองโดยชอบแสดงธรรมไพเราะในเบื้องต้น ในท่ามกลาง ในที่สุด |
1476 |
กองกุศลที่แท้จริง คือ สติปัฏฐาน ๔ ละกายทุจริตเจริญกายสุจริต ละวจีทุจริตเจริญวจีสุจริต ละมโนทุจริตเจริญมโนสุจริต |
1477 |
ตถาคต รู้คุณ-รู้โทษ-การสลัดออกแห่งอายตนะจึงได้ตรัสรู้ |
1478 |
คำนวณอายุเทวดาชั้น"กามภพ" เทียบกับุมนุษย์ ..ชั้นจาตุมหาราชิกามีอายุ 500 ปีทิพย์ คิดเป็น 9 ล้านปีมนุษย์ (50*30*12*500) |
1479 |
ทีฆนขสูตร พระผู้มีพระภาคเทศนาให้กับอัคคิเวสนะเรื่องการละธรรม พระสารีบุตรขณะนั่งถวายงานพัดได้ฟังไปด้วย เกิดจิตหลุดพ้น |
1480 |
พระสูตรเรื่อง เสียงทิพย์ (ทิพยโสตญาณ) เสียงทิพยคือเสียงของเทวดา และเสียงมนุษย์ที่อยู่ระยะไกล -แต่ได้ยิน |
|
|
1481 |
เรื่องพระสารีบุตร อัครสาวกเบื้องขวา รวบรวมทั้งหมดจากพระไตรปิฎก ชุด 1/5 |
1482 |
เรื่องพระสารีบุตร อัครสาวกเบื้องขวา รวบรวมทั้งหมดจากพระไตรปิฎก ชุด 2/5 |
1483 |
เรื่องพระสารีบุตร อัครสาวกเบื้องขวา รวบรวมทั้งหมดจากพระไตรปิฎก ชุด 3/5 |
1484 |
เรื่องพระสารีบุตร อัครสาวกเบื้องขวา รวบรวมทั้งหมดจากพระไตรปิฎก ชุด 4/5 |
1485 |
เรื่องพระสารีบุตร อัครสาวกเบื้องขวา รวบรวมทั้งหมดจากพระไตรปิฎก ชุด 5/5 |
|
|
1486 |
รวมเรื่องพระมหากัสสป (เอตทัคคบาลี ด้านผู้ทรงธุดงค์และสรรเสริญคุณแห่งธุดงค์) ชุดที่ 1/3 |
1487 |
รวมเรื่องพระมหากัสสป (เอตทัคคบาลี ด้านผู้ทรงธุดงค์และสรรเสริญคุณแห่งธุดงค์) ชุดที่ 1/3 |
1488 |
รวมเรื่องพระมหากัสสป (เอตทัคคบาลี ด้านผู้ทรงธุดงค์และสรรเสริญคุณแห่งธุดงค์) ชุดที่ 1/3 |
|
|
1489 |
ภิกษุชาวเมืองโกสัมพีทะเลาะกัน นางวิสาขามิ เข้าเฝ้าทูลถามข้อปฏิบัติ.. ภิกษุเหล่าใดเป็นธรรมวาที เธอจงเชื่อถือภิกษุฝ่ายนั้น |
1490 |
สมาธิสูตรที่๑ สูตรที่๒ สูตรที่๓ สูตรที่ ๔ สัญญาในสิ่งไม่เป็นที่ตั้งแห่งความยึดถือก็มีอยู่ (โลกุตตรสมาธิ) |
1491 |
สุนักขัตตสูตร : ภิกษุสุนักขัตตะ ทูลถามว่า ภิกษุมากรูปพยากรณ์ตนว่าบรรลุแล้ว เป็นการพยากรณ์โดยชอบหรือสำคัญตนผิด |
1492 |
มหาปุณณมสูตร ภิกษุ ๖๐ รูป มีจิตหลุดพ้นจากอาสวะ หลังได้สดับคำสอนของตถาคต |
1493 |
สุสิมสูตรที่๙ พระอานนท์ และสุสิมเทพบุตร (เทวดา) สรรเสริญพระสารีบุตรว่า มีปัญญาหลักแหลม มีปัญญาแทงตลอด |
1494 |
ทารุกัมมิกสูตร... ภิกษุอรหันต์ คฤหัสถ์ผู้ครองเรือนพึงรู้ได้ยาก |
1495 |
ฉฬาภิชาติยสูตร ชาติ ๖ ประการของพระศาสดา บุคคลผู้มีชาติดำ ประพฤติธรรมดำ ผู้มีชาติดำประพฤติขาว... |
1496 |
จิตตหัตถิสาริปุตตสูตร.. พระจิตตหัตถิสารีบุตร พูดแทรกขณะภิกษุเถระกำลังสนทนาพระอภิธรรม ถูกท่านพระมหาโกฏฐิตะตักเตือน |
1497 |
ปรายนสูตร ภิกษุสนทนากันว่า อะไรคือส่วนสุดที่๑ อะไรคือส่วนสุดที่๒ อะไรเป็นท่ามกลาง อะไรเป็นเครื่องร้อยรัด... คำตอบคือผัสสะ |
1498 |
สุมนสูตร ทรงแนะนำ สุมนาราชกุมาร ว่า ควรให้ทาน ควรทำบุญ เพราะบุญเป็นอุปการะ แม้แก่เทวดา แม้แก่มนุษย์ แม้แก่บรรพชิต |
1499 |
จุนทิสูตร (เลื่อมใสตถาคตชื่อว่าเลื่อมใสในสิ่งที่เลิศ) ตรัสกับราชกุมารี ชื่อว่าจุนที แวดล้อมด้วย รถ ๕๐๐ คัน และกุมารี ๕๐๐คน |
1500 |
ยมกสูตร...ยมกภิกษุ คิดว่าพระขีณาสพตายแล้วสูญ... นี่เป็นทิฐิลามก จึงพากันไปหาพระสารีบุตร |
|
|
|
|
|